Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 14 การสร้างนวัตกรรมจากงานวิจัยเพื่อ การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร …
หน่วยที่ 14 การสร้างนวัตกรรมจากงานวิจัยเพื่อ
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิด กระบวนการและเครื่องมือพื้นฐาน ของการขับเคลื่อนหลักเพื่อตอบโจทย์การวิจัยและพัฒนา
คุณลักษณะที่พึงปรารถนาของการวิจัยและพัฒนา และอุปนิสัยที่จําเป็นของนักวิจัย
คุณลักษณะที่พึงปรารถนา
คุณลักษณะที่พึงปรารถนาในการที่วิสาหกิจชุมชนเข้าสู่เครือข่ายธุรกิจ
มีประเด็นสําคัญของความคิด /เน้นโฟกัส
กลยุทธ์สําคัญ
มีสถานการณ์ที่อาจจะพลิกผันเเปลี่ยนแปรในการทําการ
มีคุณค่าความสร้างสรรค์
การวิจัยและพัฒนา ความหมาย และองค์ประกอบ
ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการวิจัยและพัฒนาที่เป็นนวัตกรรม
ตลาด : เน้นการเพิ่มขีดความสามารถในการตอบสนองต่อรสนิยมของกลุ่มเป้าหมาย ในการเพิ่มคุณภาพ ความมีประสิทธิภาพ และด้านจิตวิทยา (ความทันสมัย ความมีคุณค่า การสร้างสรรค์)
เทคโนโลยี: มีอยู่และเป็นประโยชน์โดยตรง จัดหาได้สะดวก พร้อมที่จะใช้ได้ ปรับใช้ได้กว้างขวาง มีการร่วมลงทุน
ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม : สิ่งแแวดล้อม สุขภาพและสวัสดิการ การเพิ่มรายได้ ลําดับความสําคัญในนโยบายแห่งชาติและการทําให้ทรัพยากรมนุษย์ดีขึ้น
ความหมาย : การวิจัยที่กําหนดผลลัพธ์เป็นการออกแบบจําลอง/ โมเดลที่ใช้กลยุทธ์ที่เหมาะสมเพื่อให้ได้องค์ความรู้ใหม่จากการทดสอบตรวจสอบตามกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการผลได้จากการวิจัยจะถูกนํามาพัฒนา นวัตกรรมหรือเป็นทางเลือกใหม่ เพื่อเกิดการบกระดับมาตรฐานองค์กร ทั้งด้านการเพิ่มรายได้คุณภาพชีวิต โอกาสใหม่ๆและการพัฒนาแบบยั่งยืน
องค์ประกอบพื้นฐาน
แบบจําลอง (Model) : แสดงให้เห็นภาพรวมที่เกิดจากวิสัยทัศน์
การจําลองแบบ (Simulation) : เพื่อทดสอบว่ามีความเป็นไปได้จริงไหม ในแต่ละสถานการณ์
ต้นแบบ (Prototype) : เกิดจากการพัฒนาและทดสอบจากการจําลองแบบ ในการสนองความคาดหวังและผลลัพธ์
ตัวอย่างการวิจัยและพัฒนาด้านการเกษตร
การพัฒนานํ้าพริกเผามังคุด เป็นการยกตัวอย่างเพื่อให้เกิดความรู้สึกร่วมว่าการวิจัยและพัฒนาการเกษตรนั้น ไม่ใช่เรื่องยากหากเน้นให้เห็นประโยชน์ในกรเพิ่มมูลค่าจากการแปรรูปผลิตภัณฑ์ การเกษตรให้เป็นนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการนวัตกรรมที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน พร้อมด้วยการมีนวัตกรรมกําหนดตําแหน่งด้วยการสร้างเครื่องหมายการค้า/ ยี่ห้อทั้งที่มีการจดสิทธิบัตรคุ้มครอง สิทธิทางปัญญา จากการลอกเลียนแบบ ทั้งนี้อยู่บนพื้นฐานของการเปลี่ยนกลุ่มความรู้ความคิด ค่านิยมมาก่อน
แนวคิด องค์ประกอบและตัวอย่างของการวิจัยเพื่อการตอบโจทย์การสร้างนวัตกรรม
แนวคิดการวิจัยและพัฒนาเพื่อการขับเคลื่อนนวัตกรรม
จะเกี่ยวข้องกับแบบจําลอง/โมเดล และการจําลองแบบ/จําลองสถานการณ์ เพื่อเป็นต้นแบบการเลือกแบบจําลอง ด้วยการเน้นจุดหลักที่สําคัญ คือมีคุณค่าต่อกลุ่มเป้าหมาย
แนวคิดพื้นฐาน การสร้างแบบจําลอง
องค์ประกอบพื้นฐานการสร้างแบบจําลอง
กระบวนการกําหนดแนวคิดการสร้างแบบจําลองด้วย การเคลื่อนไหวอย่างเป็นระบบ
กระบวนการสร้างประสิทธิภาพในการทํางาน
กระบวนการขับเคลื่อนการวิจัยเพื่อ ให้เห็นทิศทางและแนวทางการตอบโจทย์
กระบวนการสร้างแบบจําลองที่จะนําไปสู่การวิจัยและพัฒนา
2.กระบวนการพัฒนาและกําหนดกรอบแบบจําลอง
กระบวนการสร้างการจําลองแบบ/สถานการณ์
กระบวนการตรวจสอบ และทดสอบเพื่อปรับแก้แบบจําลอง
กระบวนการจําลองแบบ/จําลองสถานการณ
กระบวนการพัฒนาของนวัตกรรมที่เป็นต้นแบบในการนําไปปรับใช้
เครื่องมือวิจัยและพัฒนาเพื่อ การขับเคลื่อนให้ตอบโจทย์
เทคนิคและเครื่องมือการกําหนดประเด็นปัญหา
สนทนากลุ่ม/อภิปรายกลุ่มแบบเจาะจง
สุนทรียสนทนา
วิธีการระดมสมอง
เวิร์กชอป
เทคนิคการวิเคราะห์สาเหตุ
การวิเคราะห์โอกาสและยุทธศาสตร์การสร้างนวัตกรรม ด้วยการวิจัยและพัฒนาขององค์กรชุมชน
ตัวอย่างนวัตกรรมการเกษตรจากการวิจัยและพัฒนา
จากเอสเอ็มอีรายย่อย
จากเอสเอ็มอีรายย่อยด้านเทคโนโลยีการเกษตร
จากเอสเอ็มอีรายย่อย รับจ้างวางระบบบำบัดน้ำเสีย
จากเอสเอ็มอรรายย่อย ที่มี ลักษณะเป็นกลุ่มครือข่ายธรุกิจ
โอกาสและยุทธศาสตร์เพื่อการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมการเกษตรและอาหาร
โอกาส
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากในช่วงปี2559-60
การเปลี่ยนแปลงของการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4
ทิศทางการส่งออกอาหารสำเร็จรูปของไทยเพิ่มต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์
เน้นอุตสาหกรรมเกษตรอาหารให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ประเทศไทย ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม สนับสนุนเครือข่าย SME หรือกลุ่มธุรกิจ
การสร้างนวัตกรรมของการวิจัยและพัฒนาของเครือข่ายชุมชน
สมรรถนะการสร้างโมเดล/แบบจําลอง
กลยุทธ์ที่เน้นในด้านโอกาสและจุดแข็งเพื่อปรับเปลี่ยนเครือข่าย การผลิตในชุมชนที่เน้นวิสาหกิจชุมชน ไปเป็นเครือข่ายธุรกิจด้านการเกษตรและอาหาร