Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคจิตหลังคลอด(postpartum psychosis) - Coggle Diagram
โรคจิตหลังคลอด(postpartum psychosis)
เป็นโรคที่พบได้ไม่บ่อย ร้อยละ 0.09 และ 0.26 แต่อาการมักรุนแรง เริ่มใน 2-3 วันแรกหลังคลอด อาจพบ อาการของโรคได้ภายใน 1 เดือนแรกหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
อาการนํา เริ่มด้วยความไม่สุขสบายก่อน อาการแรกๆ ที่พบบ่อยคือ นอนไม่หลับ บุคลิกภาพ เปลี่ยนแปลง ขาดความสนใจต้องสิ่งแวดล้อมรอบตัว
โปรแกรม “NURSE Program”
N nourishment (nutrition) and needs เป็นการดูแลเพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับอาหารและ น้ําอย่างเพียงพอ ทั้งนี้มารดาที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่
U understanding พยาบาลผดุงครรภ์ต้องอธิบายให้มารดาหลังคลอดเข้าใจ ถึงกระบวนการ เปลี่ยนแปลงของร่างกายเพื่อกลับสู่สภาพเดิม โดยให้คําแนะนํามารดาหลังคลอดและครอบครัวเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตัว การดูแลทารก
U understanding พยาบาลผดุงครรภ์ต้องอธิบายให้มารดาหลังคลอดเข้าใจ ถึงกระบวนการ เปลี่ยนแปลงของร่างกายเพื่อกลับสู่สภาพเดิม โดยให้คําแนะนํามารดาหลังคลอดและครอบครัวเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตัว การดูแลทารก
R rest and relaxation เป็นการดูแลให้มารดาหลังคลอดพักผ่อนให้เพียงพอ เพราะอ่อนเพลียจาก การสูญเสียเลือดและพลังงานอย่างเพียงพอ
S spirituality เป็นการส่งเสริมความเชื่อ ความศรัทธา ที่ช่วยให้มารดาหลังคลอดรู้สึกมีแหล่งพึ่งพา ทางจิตใจ ควรมีการส่งเสริมให้มารดาทํากิจวัตรหรือกิจกรรมทางศาสนาที่เหมาะสมตามความต้องการ
E exercise การออกกําลังกาย ช่วยให้สารเอนโดรเฟนหลั่ง การบริหารร่างกายหลังคลอดมี ความสําคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกเหรอ
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
เคยมีประวัติโรคจิตหลังคลอด
มีประวัติเป็น bipolar มีโอกาสที่จะเป็นโรคนี้สูงกว่าสตรทั่วไป ร้อยละ 40
มีบุคลิกภาพแปรปรวนอยู่ก่อนแล้ว
มีความเครียดขณะตั้งครรภ์และขากการสนับสนุนจากบุคคลรอบข้าง และอาจมีปัญหาเศรษฐกิจ
มีประวัติบุคคลในครอบครัว ญาติใกล้ชิดป่วยด้วยอาการ bipolar
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของมารดาและทารก
มารดาหลังคลอดที่มีโรคจิตหลังคลอด ต้องพบแพทย์ทันที เป็นภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช จําเป็นต้องรับการ รักษาในโรงพยาบาล เนื่องจากอาการค่อนข้างรุนแรง มีความเสี่ยงสูงในการทําร้ายตัวเอง และหรือผู้อื่น
.การดูแลต่อเนื่องหลังจําหน่าย
การดูแลต่อเนื่องที่บ้านภายหลังจําหน่ายออกจากโรงพยาบาล ช่วงสัปดาห์แรกหลังคลอดจะเป็นนระยะที่ มารดาประสบกับปัญหาในการดูแลตนเองและทารก
3.1 การประเมินภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับมารดาหลังคลอด เช่นการเข้าอู่ของมดลูก แผลฝีเย็บ น้ําคาวปลา การขับถ่ายปัสสาวะ เต้านม หัวนม การไหลของน้ํานม รวมทั้งความเครียด ความวิตกกังวล
3.2 การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอดและทารก เป็นการทบทวนความรู้ในการดูแลตนเอง เช่น อาหาร การพักผ่อน การทําความสะอาดร่างกาย แผลฝีเย็บ การเปลี่ยนผ้รอนามัย การบริหารร่างกาย
3.3 ประเมินทักษะความสามารถในการดูแลทารก การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
รูปแบบวิธีการดูแลต่อเนื่อง
1.การใช้โทรศัพท์ติดตามการเยี่ยมบ้าน ทําได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว ติดตามได้จํานวนมาก เพราะไม่ต้อง เดินทาง แต่อาจมีข้อจํากัดคือไม่เห็นสภาพที่แท้จริง
2.การเยี่ยมบ้านโดยบุคลากรสาธารณสุข ซึ่งโรงพยาบาลจะประสานการส่งต่อไปยังหน่วยบริการสาธารณสุข ในพื้นที่
3.การเยี่ยมบ้านโดยอาสาสมัครสุขภาพ โดยใช้หลักการให้คนในชุมชนดูแลกันเอง
เเนวทางการรักษา
3.การปรับพฤติกรรมด้วยความคิด
4.การเเก้ปัญหาด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
2.การทำจิตบำบัด
1.การรักษาด้วยไฟฟ้า
การพยาบาล
พยาบาลมีบทบาทสําคัญในการป้องกัน และดูแลมารดาหลังคลอดที่มีความผิดปกติทางจิตใจในระยะหลัง คลอด ต้องเริ่มตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมที่จะเป็นมารดาและดูแลต่อเนื่องในระยะหลัง คลอด
ระยะตั้งครรภ์
1.1การเฝ้าระวังและการคัดกรอง (screening) โดยคัดกรองภาวะซึมเศร้าหญิงตั้งครรภ์ทุกราย เพราะถือเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า โดยการหาปะจจัยส่วนบุคคล และครอบครัวที่มีผลต่อการ เกิดภาวะซึมเศร้า
การประเมินภาวะซึมเศร้า
.เเบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
การประเมินหลังคลอด
.เเบบสอบถามเพื่อประเมินความรุนเเรงภาวะซึมเศร้าหลังคลอด