Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
2.การติดเชื้อหลังคลอด (puerperal infection) - Coggle Diagram
2.การติดเชื้อหลังคลอด
(puerperal infection)
สาเหตุของการติดเชื้อหลังคลอด
Aerobic bacterial infection
Anaerobic bacterial infection
สาเหตุส่งเสริม
การตรวจสอบเสียงหัวใจทารกผ่านทางช่องคลอด
การเจ็บครรภ์และระยะคลอดยาวนาน
การล้วงรกหรือมีการตรวจโพรงมดลูกหลังคลอดในรายที่รกค้าง
เทคนิคการทำคลอดไม่ถูกต้อง
ดูแลแผลฝีเย็บไม่ถูกต้อง
อาการและอาการแสดง
ขึ้นกับความรุนแรงของการติดเชื้อ อาการมักเริ่มต้นใน 48 ชั่วโมงแรกหลังคลอด มีไข้สูงแบบฟันเลื่อยระหว่าง 38.5-40 ํ C ชีพจรเร็วสัมพันธ์กับอุณหภูมิ ปวดท้องน้อยบริเวณมดลูก น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
การประเมิน
และการวินิจฉัย
2.การตรวจร่างกาย ที่อาจบ่งชี้ถึงการติดเชื้อในระยะหลังคลอด
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC: WBC เพิ่มสูง / เพาะเชื้อ
1.การซักประวัติ หาปัจจัยเสี่ยงของ
การติดเชื้อในระยะหลังคลอด
4.การตรวจพิเศษ
Ultrasound หาก้อนหนอง
การรักษา
ยาปฏิชีวนะชนิด broad spectrum เช่น ampicillin เริ่มให้ยาทางหลอดเลือดดำ 4-8 กรัม/วัน จนไม่มีไข้ 24-48 ชั่วโมง เปลี่ยนเป็นแบบรับประทาน 4-5 วัน และรักษาตามอาการ
การพยาบาล
1.การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
1.2 ดูแลให้ผู้คลอดได้พักผ่อนและได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
1.3 บุคลากรในห้องคลอดผูก mask ใช้อุปกรณ์ sterile และ Aseptic technique
1.1 แนะนำการปฏิบัติตัวระหว่างการตั้งครรภ์ให้มีสุขภาพแข็งแรง ฝากครรภ์ตามนัด เพื่อดูแลและแก้ไขความผิดปกติได้ทันที
1.4 ทำคลอดด้วยความระมัดระวังเพื่อป้องกันการบาดเจ็บ
1.5 ทันทีหลังคลอด เปลี่ยนเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอน และสิ่งอื่นๆ ที่ปนเปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่ง
1.6 แนะนำล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะก่อน และหลังเปลี่ยนผ้าอนามัย และการขับถ่าย
1.7 แนะนำทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ที่ถูกวิธี ป้องกันการนำเชื้อ
2. การพยาบาลขณะมีการติดเชื้อหลังคลอด
2.2 การพยาบาลเฉพาะ(ตามสาเหตุ)
ชำระล้างบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก แผลฝีเย็บด้วยน้ำยาฆ่าเชื้ออย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
ให้มารดาหลังคลอด ใช้สบู่และน้ำสะอาดล้างภายหลังการขับถ่าย และการเปลี่ยนผ้าอนามัยเมื่อเปียกชุ่มทุกครั้ง จะช่วยป้องกันการติดเชื้อได้
ให้ hot sitz bath ด้วยน้ำละลายด่างทับทิม วันละ 2-3 ครั้งๆ ละ 10-15 นาที
อบแผลด้วย infrared light วันละ 2-3 ครั้งๆ ละ 3-5 นาที เพื่อช่วยลดการอักเสบติดเชื้อและแผลหายเร็ว
2.1 การพยาบาลทั่วไป
ดูแลให้ได้รับอาหารที่มีพลังงาน วิตามิน โปรตีนสูง และได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
ประเมินสัญญาณชีพและสังเกตอาการ ประเมินภาวะ shock จากการติดเชื้อ
ดูแลความสะอาดร่างกายและสิ่งแวดล้อม
แยกมารดาที่ติดเชื้อออกจากมารดาหลังคลอดทั่วไป
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ ยาแก้ปวด และอื่นๆ ตามแผนการรักษา
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อช่วยการวินิจฉัยโรค/รักษาพยาบาล
ให้พักผ่อนอย่างเต็มที่ ดูแลความสุขสบาย เช็ดตัวเพื่อลดไข้