Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
1.การตกเลือดหลังคลอด (postpartum hemorrhage) - Coggle Diagram
1.การตกเลือดหลังคลอด (postpartum hemorrhage)
การประเมิน และการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
คาดคะเนปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอดหลังจากทารกคลอด
สังเกตอาการ อาการแสดงของการเสียเลือด : ชีพจรเบาเร็ว เหงื่อออกตัวเย็น ใจสั่น กระหายน้ำ ความดันโลหิตต่ำ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ดูความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด ภาวะโลหิตจาง
platelets count, thrombin time, prothrombin time, fibrinogen concentration
การซักประวัติ เพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
มีภาวะโลหิตจาง
ประวัติประวัติการตั้งครรภ์แฝด ทารกตัวโต
มารดาหลังคลอดมีเลือดออกหลังการคลอดบุตร การตกเลือดหลังคลอด
มักเกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด เป็นสาเหตุการตายอันดับแรกของมารดาหลังคลอดที่วโลก
กรณีผ่าตัดคลอด เสียเลือดมากกว่า 1,000 cc.
การคลอดบุตรทางช่องคลอดปริมาณที่มากกว่า 500 cc.
หรือ ร้อยละ 1 ของน้ำหนักตัวมารดาหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
1.มีเลือดออกทางช่องคลอด ลักษณะแตกต่างกันตามสาเหตุ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ลักษณะน้ำคาวปลา การติดเชื้อในโพรงมดลูกน้ำคาวปลาจะมีกลิ่นเหม็น สีแดงคล้ำ หรือสีน้ำตาล เป็นเวลานาน มีอุณหภูมิกายสูงขึ้น
ปวดท้องน้อย กรณีมดลูกปลิ้นจะปวดท้องน้อยอย่างรุนแรง ปวดถ่วงในอุ้งเชิงกราน หรือมีก้อนจุกที่ช่องคลอด
การตกเลือดหลังคลอด แบ่งเป็น 2 ระยะ
1.การตกเลือดหลังคลอดในระยะแรก เกิดภายใน 24 ชั่วโมง แรกหลังคลอดโดยรวมระยะที่สามของการคลอด
การตกเลือดหลังคลอดในระยะหลัง เกิดหลัง 24 ชั่วโมง ไปจนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด
แนวทางการรักษา
ขั้นตอนที่ 4
ภายหลังการตัดมดลูก เลือดยังออกไม่หยุด
ทำ abdominal packing โดยนำผ้ากอซ(swab) ใส่ในช่องท้องอัดให้แน่นเพื่อห้ามเลือด แล้วเอาออกภายใน 24 ชั่วโมง
ขั้นตอนที่ 1
การกู้ชีพเบื่องต้น
1.1 เปิดเส้นเลือดเพื่อให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ด้วยเข็มเบอร์ 18
1.2 ให้ออกซิเจน cannular หรือ mask with bag
1.3 วัดสัญญาณชีพ และประเมินต่อเนื่อง
1.4 ใส่สายสวนปัสสาวะ เพื่อประเมินปริมาณปัสสาวะ
ขั้นตอนที่ 2
รักษาตามสาเหตุหลักดูแล
ตามสาเหตุของการตกเลือด
4. การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ (Thrombin)
4.1 แก้ไข หรือให้องค์ประกอบของเลือดทดแทน
4.2 ปรึกษาอายุรแพทย์
3.บาดเจ็บช่องทางคลอด มดลูกปลิ้น มดลูกแตก (Trauma)
3.1 เย็บซ่อมตำแหน่งที่ฉีกขาด
3.2 มดลูกแตก มักต้องตัดมดลูก แต่อาจพิจารณาเย็บซ่อมในบางราย
2.การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี (Tone)
2.1 นวดคลึงมดลูก
2.2 ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูก โดยใช้ Oxytocin
1.รกไม่คลอด หรือ คลอดไม่หมด (Tissue)
1.1 ล้วงรก
1.2 ขูดมดลูก กรณีที่รกคลอดไม่ครบ
ขั้นตอนที่ 3
กรณีไม่ต่อการรักษตอบสนองาเบื้องต้น
1.ปรึกษาแพทย์ผู้มีประสบการณ์ / วิสัญญีแพทย์
2.ส่งต่อมารดาทารกหลังคลอดโดยมีแพทย์ พยาบาลพร้อมทีมกู้ชีพร่วมดูแลระหว่างการส่งต่อ
การพยาบาล
การพยาบาลขณะที่มีการตกเลือดหลังคลอดให้ปลอดภัยจากภาวะช็อค
1.การพยาบาลเพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
3.การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูและส่งเสริมสุขภาพ
ของมารดาหลังคลอด