Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 11 การวิจัยเชิงคุณภาพในการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร,…
หน่วยที่ 11 การวิจัยเชิงคุณภาพในการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
แนวคิดการวิจัยเชิงคุณภาพ
ความหมาย ความสำคัญ เเละการประยุกต์การวิจัยเชิงคุณภาพในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
อัตวิสัย/ภววิสัย หรือ วัตถุวิสัย
การวิจัยเชิงคุณภาพ
ปรากฏการณ์ทางสังคมมีลักษณะเป็นพลวัต
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์
การวิจัยระดับจุลภาค
สะท้อนจากหน้าที่ทางสังคม
ไม่มีแบบแผนที่ตายตัว
การวิจัยเชิงคุณภาพเป็นการเเสวงหาความรู้โดยพิจารณาปรากฏการณ์สังคมจากสภาพเเวดล้อมตามความเป็นจริงในทุกมิติ เพื่อหาความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์กับสภาพเเวดล้อมนั้น
ลักษณะเเละเเบบแผนการวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงปริมาณ เป้าหมายการเเสวงหาความรู้ได้จากการทำนาย การควบคุม ยึดเเนวคิดเเละทฤษฎี มีสมมติฐานที่กำหนดไว้ล่วงหน้าที่ได้ตรวจสอบเเล้ว เกณฑ์กำหนดคุณภาพความรูที่เคร่งครัด เที่ยงตรง ความเป็นภววิสัย มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร เเละมีขั้นตอนของระเบียบวิธีวิจัย มีแบบแผนการวิจัยที่กำหนดไว้เเน่นอน
การวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้ความเข้าใจ การก่อรูปใหม่ของความรู้ ยึดปรากฏการณ์ ในเชองโครงสร้างหรือความเป็นมาของปรากฏการณ์ กำหนดคุณภาพของความรู้จากความไว้วางใจเเละความเป็นของเเท้ มีวัถุประสงค์เพื่อ อธิบาย พรรณนา ความหมายของปรากฎการณ์ กำหนดเพียงวัถุประสงค์และปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ เจาะจงเฉพาะกับผู้ให้ข้อมูล มีแบบแผนการวิจัยที่ยืดหยุ่นได้
การออกเเบบการวิจัยเชิงคุณภาพในการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
การเลือกตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ
เลือกบุคคลหรือตัวอย่าง
เลือกชุมชน
วิธีการเก็บข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ
จัดการสนทนากลุ่ม
การจัดสนทนากลุ่ม
การสนทนากลุ่มตามธรรมชาติ
สัมภาษณ์เเบบเจาะจง
การสังเกต
การสังเกตเเบบมีส่วนร่วม
การสังเกตเเบบไม่มีส่วนร่วม
การสัมภาษณ์เเบบเจาะลึก
เป็นวิธีการสัมภาษณ์ที่ต้องการรายละเอียดมากในเรื่องที่ผู็ศึกษาต้องการ
การสัมนาหรือการจัดเวทีชาวบ้าน
เป็นการพูดคุยเเลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้ข้อเสนอเเนะซึ่งกันเเละกัน
การบันทึกประวัติชีวิตบุคคล
ปล่อยให้ผู้ให้ข้อมูลเล่าเรื่องราวของตนในเเนวทางที่ผู้วิจัยกำหนดขอบเขตไว้คร่าวๆ
การกำหนดปัญหา วัตถุประสงค์ กรอบเเนวคิด เเละสมมติฐานการวิจัยเชิงคุณภาพ
ปัญหาหรืโจทย์การวิจัย คือ ข้อสงสัยที่นักวิจัยต้องการรู้ในข้อเท็จจริงพิจารณา 3 ประเด็น
ปัจจัยเกี่ยวกับนักวิจัย
ปัจจัยด้านสังคม การเมือง เเละสิ่งเเวดล้อม
ปัจจัยด้านหน่วยงาน
การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย กำหนดให้มีขอบข่ายสอดคล้องกับเนื้อหา ประชากร เครื่องมือการวิจัย วิธีรวบรวมข้อมูล ตลอดจนเเนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล
กรอบเเนวคิดในการวิจัย
การกำหนดสมมติฐาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพ
แบบสัมภาษณ์
มีโครงสร้าง
กึ่งโครงสร้าง
เเบบบันทึกการสังเกต
เครื่องมืออื่นๆ
โครงสร้างครอบครัว
แผนที่ชุมชน
แผนที่ภายในชุมชน
แผนที่ทางสังคมในชุมชน
อุปกรณ์ที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพ
แผนที่ความคิด
บัตรคำ
การบันทึกเสียง
การบันทึกภาพ
การเก็บข้อมูลเเบบผสมผสาน
การวิเคราะห์แลพเสนอผลการวิจัยเชิงคุณภาพในการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
การนำเสนอผลการวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพ
แนวคิดทฤษฎีในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ขั้นตอนที่ 1 การใช้เเนวคิดทฤษฎีและการสร้างกรอบเเนวคิดสำหรับการวิเคราะห์
ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบข้อมูล
ขั้นตอนที่ 3 การจดบันทึกข้อมูล
ขั้นตอนที่ 4 การจัดเเฟ้มข้อมูล
ขั้นตอนที่ 5 การทำดัชนีข้อมูล
ขั้นตอนที่ 6 การทำข้อสรุปชั่วคราวและการจำกัดข้อมูล
ขั้นตอนที่ 7 การสร้างบทสรุปและการพิสูจน์บทสรุป
วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การจำเเนกประเภทข้อมูล
การจำเเนกประเภทข้อมูลระดับจุลภาค
การจำเเนกประเภทข้อมูลระดับมหภาค
การเปรียบเทียบข้อมูล
การวิเคราะห์ส่วนประกอบ
SWOT analysis
การสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย
การตีความข้อมูล
การอธิบายสาเหตุและการเชื่อมโยงข้อมูล
เครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
แผนที่
แผนภูมิ
เครือข่ายของเหตุและผล
การจัดเเยกประเภทของคำ ความคิด หรือความเชื่อ
ตารางรายการ
เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ทางสังคม