Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 10 การวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริม เเละพัฒนาการเกษตร,…
หน่วยที่ 10 การวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริม
เเละพัฒนาการเกษตร
เเนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
จุดมุ่งหมายเเละประเภทของการวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
อธิบายความสัมพันธ์และทำนาย
เพื่อควบคุม
เพื่อการสำรวจ
เพื่อบรรยายหรือพรรณา
ประเภทของการวิจัย
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
การวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
การวิจัยเชิงทดลอง
กระบวนการดำเนิงานวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การออกแบบการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การสร้างกรอบเเนวคิดเเละสมมติฐานการวิจัย
การจัดทำเเละวิเคราะห์ข้อมูล
การทบทวนวรรณกรรม
การเขียนรายงานการวิจัยเเละการเสนอผล
กำหนดโจทย์ ปัญหา เเละวัตุประสงค์การวิจัย
ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
พื้นฐานทางปรัชญาของการวิจัยเชิงปริมาณ
กลุ่มฐานคิดตีความนิยม เป็นวิธีวิทยาเชิงคุณภาพ/เชิงตีความ
กลุ่มฐานคิดวิพากษ์นิยมหรือปฏิรูปนิยม เป็นวิธีวิทยาเชิงวิพากษ์
กลุ่มฐานคิดปฏิฐานนิยม เป็นวิธีวิทยาเชิงปริมาณ
ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ เป็นการอิงหลักการวัด ตัวเลข เป็นประนัย ใช้เครื่องมือวิจัยในการเก็บรวบรวมข้อมูล ไม่เอนเอียง มีการออกแบบการวิจัย รูปแบบหลักการวิจัยเชิงปริมาณพบในการวิจัยเชิงสังคมศาสตร์
การวิจัยเชิงปริมาณ หมายถึง การวิจัยที่ต้องอาศัยระเบียบวิธีการวิจัยทางวิทยาศาสตร์เพื่อค้นหาความจริง เป็นการวิจัยที่มีระเบียบวิธีการที่ชัดเจนในการวิจัยโดยการสร้างเครื่องมือเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อการวัดสิ่งที่ศึกษา (ตัวแปร) ออกมาเป้นตัวเลขเเละวิเคาะห์ข้อมูลโดยใช้วิธสีการทางสถิติ เพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่มีความเชื่อถือได้
ความสำคัญของการวิจัยเชิงปริมาณ
มุ่งศึกษาพฤติกรรมมนุษย์
มีแบบแผนเฉพาะเจาะจงที่ชัดเจนเเน่นอน
มีการตั้งคำถามวิจัยหรือสมมติฐานวิจัยที่เจาะจงไว้ก่อน
เทคนิควิธีการเชิงปริมาณเป็นหัวใจของการวิจัยทุกขั้นตอน
เทคนิคการเก็บข้อมูลโดนอิงเครื่องมือวัดต่างๆ
วิธีการที่นิยม ส่วนใหญ่ได้เเก่ การสำรวจเเละการทดลอง
การวิจัยเชิงปริมาณแบบไม่ทดลองในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เเนวคิดเรื่องความสัมพันธ์ เป็นการศึกษาความเกี่ยวข้องระหว่างตัวแปรที่ได้จากกการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
จุดมุ่งหมาย
จุดมุ่งหมายของการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
ลักษณะการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
เเนวคิดเรื่องการทำนาย เป็นการคาดการณ์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตาม ตามการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอิสระ
ข้อดี/ข้อจำกัด
การวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุในการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
ความสัมพันธ์อย่างง่าย
ความสัมพันธ์แบบพหุ
การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เเคนอนิคัล
การวิเคราะห์และการนำเสนอผลการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
การวิจัยเชิงสำรวจในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
จุดมุ่งหมายการวิจัยเชิงสำรวจ
ลักษณะการวิจัยเชิงสำรวจ
ข้อดี/ข้อจำกัดของการวิจัยเชิงสำรวจ
จุดมุ่งหมายของการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อทำความเข้าใจภาพรวมของปรากฏการณ์ใดปรากฏการณ์หนึ่ง
รูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจ
แบ่งตามขอบเขตของคำถามการวิจัย
แบ่งตามขอบเขตประชากร
การวิเคราะห์เเละการนำเสนอผลการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงปริมาณแบบทดลองและเเบบกึ่งทดลองในการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
การวิจัยเชิงปริมาณเเบบการทดลองจริงในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความนำ
เเนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงทดลอง
จุดมุ่งหมายการวิจัยเชิงทดลอง
ลักษณะการวิจัยเชิงทดลอง
ข้อจำกัด ของการวิจัยเชิงทดลอง
ข้อดี ของการวิจัยเชิงทดลอง
รูปแบบการวิจัยเชิงการวิจัยเชิงทดลอง
การวิจัยเชิงปริมาณแบบกึ่งการทดลองในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยเชิงปริมาณเเบบการทดลองขั้นต้นในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุใช้การสังเกตและรวบรวมข้อมูลตามสภาพที่เป็นอยู่
เเนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
ลักษณะการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
ข้อดีของการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
จุดมุ่งหมายการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
ข้อจำกัดของการวิจัยเปรียบเทียบสาเหตุ
รูปแบบการวิจัยเชิงการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
รูปแบบกลุ่มเปรียบเทียบ
รูปแบบความสัมพันธ์ร่วม
การวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
การนำการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุไปใช้
เป็นการศึกษาสภาพการณ์ตามภาวะที่เป็นอยู่ โดยไม่มีการจัดกระทำใดๆ