Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตกเลือดหลังคลอด (postpartum hemorrhage), : IMG_0186 - Coggle Diagram
การตกเลือดหลังคลอด (postpartum hemorrhage)
อาการและอาการแสดง
(sign and symptom)
มีเลือดออกทางช่องคลอด ลักษณะแตกต่างกันตามสาเหตุ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ลักษณะน้ำคาวปลา การติดเชื้อในโพรงมดลูกน้ำคาวปลาจะมีกลิ่นเหม็น สีแดงคล้ำ หรือสีน้ำตาล
ปวดท้องน้อย กรณีมดลูกปลิ้นจะปวดท้องน้อยอย่างรุนแรง
การที่มารดาหลังคลอดมีเลือดออกหลังการคลอดบุตร การตกเลือดหลังคลอด
มักเกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด และเป็นสาเหตุการตายอันดับแรกของมารดาหลังคลอดทั่วโลก
การตกเลือดหลังคลอด แบ่งเป็น 2 ระยะ
1.การตกเลือดหลังคลอดในระยะแรกเกิดภายใน 24 ชั่วโมง แรกหลังคลอดโดยรวมระยะที่สามของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี (Tone)
หนทางคลอดฉีกขาด (Trauma)
รกค้าง (Tissue)
ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด (Thrombin)
การตกเลือดหลังคลอดในระยะหลังเกิดหลัง 24 ชั่วโมง ไปจนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด
เลือดออกจากแผลในทางคลอด
ภาวะติดเชื้อในโพรงมดลูก
มดลูกเข้าอู่ช้า (sub involution)
สาเหตุอื่นๆ เช่น เนื้องอกของตัวมดลูก ตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก
เศษรกหรือเยื่อหุ้มเด็กค้าง
แนวทางการรักษา
ขั้นตอนที่ 2 รักษาตามสาเหตุหลัก
ดูแลตามสาเหตุของการตกเลือด
2.2 การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี (Tone) นวดคลึงมดลูก ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัว
2.3.บาดเจ็บช่องทางคลอด มดลูกปลิ้น มดลูกแตก (Trauma) เย็บซ่อมตำแหน่งที่ฉีก
2.1 รกไม่คลอด หรือ คลอดไม่หมด (Tissue) ทำการล้วงรก
2.4 การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ (Thrombin)แก้ไข หรือให้องค์ประกอบของเลือดทดแทน
ขั้นตอนที่ 3 กรณีไม่ตอบสนองต่อการรักษาเบื้องต้น
3.ดูแลอย่างใกล้ชิด Intensive care และป้องกันเลือดออกเพิ่มControl BP และการแข็งตัวของเลือด
4.ให้เลือด น้ำเกลือ องค์ประกอบของเลือด
2.ส่งต่อมารดาทารกหลังคลอดโดยมีแพทย์ พยาบาลพร้อมทีมกู้ชีพร่วมดูแลระหว่างการส่งต่อ
ห้ามเลือด ควบคุมเลือดออกเฉพาะที่
1.ปรึกษาแพทย์ผู้มีประสบการณ์ / วิสัญญีแพทย์
ขั้นตอนที่ 1 การกู้ชีพเบื้องต้น
1.1 เปิดเส้นเลือดเพื่อให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ด้วยเข็มเบอร์ 18
1.2 ให้ออกซิเจน cannular หรือ mask with bag
1.3 วัดสัญญาณชีพ และประเมินต่อเนื่อง (vital signs monitor)
1.4 ใส่สายสวนปัสสาวะ เพื่อประเมินปริมาณปัสสาวะ
ขั้นตอนที่ 4 ภายหลังการตัดมดลูกเลือดออกไม่หยุด
ทำ abdominal packing โดยนำผ้ากอซ(swab) ใส่ในช่องท้องอัดให้แน่นเพื่อห้ามเลือด แล้วเอาออกภายใน 24 ชั่วโมง
พยาธิสรีรภาพ
การตกเลือดหลังคลอดอย่างรุนแรง ทำให้ปริมาณเลือดในร่างกายลดลง เกิดภาวะ hypovolemia
หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับเลือดหรือสารน้ำ เช่น ปอดบวมน้ำ การให้เลือดผิดหมู่
ถ้าช็อกเป็นเวลานาน จะทำให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายขาดออกซิเจน โดยเฉพาะที่
สมอง
การตรวจร่างกาย
สังเกตอาการ อาการแสดงของการเสียเลือด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก การฉีกขาดช่องทางคลอด ตรวจดูความสมบูรณ์ของรก
คาดคะเนปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอดหลังจากทารกคลอด
การพยาบาล
การพยาบาลขณะที่มีการตกเลือดหลังคลอด
ให้ปลอดภัยจากภาวะช็อค
จัดให้นอนราบ ไม่หนุนหมอน ตะแคงหน้าเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
ดูแลให้ออกซิเจน Nasal cannula 4-5 ลิตร/นาที
บันทึกสัญญาณชีพ (Vital signs) ชีพจร การหายใจ ความดันโลหิต ทุก 15 นาที
บันทึกปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด ปัสสาวะ ปริมาณน้ำเข้า และขับออก (intake and output) เพื่อประเมินความรุนแรงของภาวะ shock
ประเมินระดับความรู้สึกตัว (Conscious)
ให้สารน้ำหรือเลือดทางหลอดเลือดดำ และแก้ไข/ให้การดูแลตามสาเหตุ
1.การพยาบาลเพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
1.2 ระยะคลอด
ดูแลแบบ Active Management of Third Stage of Labor (AMTSL)
ดูแลให้ได้รับ oxytocin หลังคลอดไหล่หน้า
หลีกเลี่ยง /ลดความรุนแรงของปัจจัยเสี่ยง เช่น การคลอดที่ยาวนาน
มารดาที่มีความเสี่ยงสูง ควรงดน้ำ งดอาหารทางปาก และ ทำคลอดในระยะที่สองและสามของการคลอดอย่างถูกต้องเหมาะสม
1.3 ระยะหลังคลอด
ให้ oxytocin เมื่อทารกคลอดแล้วควรให้ต่อไปอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด ใน 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ตรวจดูการบวมเลือดของอวัยวะสืบพันธุ์ บริเวณที่บวมเลือดจะแข็ง
ดูแลกระเพาะปัสสาวะว่าง โดยกระตุ้นให้ขับถ่ายปัสสาวะ
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก ถ้ามดลูกนุ่มให้คลึงมดลูกให้แข็งตัวไว้
1.1ระยะตั้งครรภ์
ภาวะซีดเลือดออกง่ายจากเกล็ดเลือดต่ำ รักษาก่อนคลอด
แนะนำการรับประทานอาหารและยาเสริมธาตุเหล็ก
: