Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติทางจิตใจในระยะหลังคลอด - Coggle Diagram
ความผิดปกติทางจิตใจในระยะหลังคลอด
ความหมาย
มารดาในระยะหลังคลอดต้องปรับตัว ทั้งด้านการฟื้นฟูสภาพร่างกายจากการคลอด บทบาทของการเป็นมารดาการเป็นแม่บ้าน มีผลต่อสุขภาพจิตของมารดาและครอบครัว เป็นเรื่องปกติที่มารดาหลังคลอดจะเกิดอารมณ์เศร้าหลังคลอด พบได้ประมาณ ร้อยละ 60-80
โดยเฉพาะใน 3-10 วันหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนเอสโตรเจน(estrogen) โปรเจสเทอโรน(progesterone) มีผลต่อสารสื่อ
ประสาท เซโรโทนิน
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด แบ่งได้ 3 ระดับ
1.ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด เป็นเรื่องปกติ ยังไม่เป็นโรค
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด อาการ อ่อนเพลีย วิตกกังวล อารมณ์แปรปรวนขึ้นๆ ลงๆ เปลี่ยนแปลงง่าย หงุดหงิด ร้องไห้ง่าย เศร้าง่าย เซื่องซึ
ภาวะเศร้าหลังคลอด
(postpartum blues หรือ baby blues)
อาการชั่วคราว ไม่รุนแรง
ถ้าอาการอยู่ เกิน2สัปดาห์หลังคลอด
ต้องได้รับการรักษา
อาจพัฒนาเป็นภาวะซึมเศ้ราหลังคลอด บางรายอาจรุนแรงเป็นโรคจิตหลังคลอด
2.โรคซึมเศร้าหลังคลอด ถือเป็นการเจ็บปวดที่ได้จากการรักษาของแพทย์
ภาวะเบี่ยงเบนทางอารมณ์ความคิด การรับรู้ของบคุคลนั้นๆมีผลทำให้พฤตกิรรม เปลยี่นไปจากเดิมทั้งทางด้านร่างกายจติใจและอารมณ์ โดยมีลักษณะคล้ายอารมณ์เศร้า และมีอาการนานกว่า 2 สัปดาห์เป็นภาวะแทรกซ้อนหลัง
คลอดที่พบได้ในระยะ 1 ปีแรก พบได้ร้อยละ 10-15 ของมารดาหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
รู้สึกเศ้ราหดหู้ เซื่องซึมวิตกกังวล อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย หงุดหงิด โมโห ขาดความสนใจตนเองและส่ิงแวดล้อม มีอาการเบื่ออาหาร โมโห นอนไม่หลับออนเพลีย น้ำหนักลด อ่อนเพลีย น้ำหนักลด
อาการรุนแรง
หวาดระแวง ประสาทหลอน เช่น หูแว่ว พฤติกรรม แปลกประหลาด วุ่นวายผดิ แปลก อารมณ์ก้าวร้าว รุนแรง
ซึมเศร้าหรือ อารมณ์ดีแบบไม่สมเหตุสมผล อารมณ์เปลี่ยนแปลงเร็ว มีความคิด หลงผิดคดิ ทำร้ายตนเองคนรอบข้างหรือ แม้กระทั่งบุตรของตัวเอง
หรือคิดอยากฆ่าตัวตาย หรือทำร้ายบุตร
การประเมินและการวินิจฉัย
1.ซึมเศร้า โดยมีอาการเกือบทั้งวัน
2.ความสนใจหรือความเพลิดเพลินใจในสิ่งต่างๆ ลดลงอย่างมาก
3.เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลง หรือกินจุ น้ำหนักเพิ่ม มากกว่าร้อยละ 5 ใน 1 เดือน
4.นอนไม่หลับ หรือนอนมากกว่าปกติ
5.Psychomotor agitation หรือ retardation
6.อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
7.รู้สึกตนเองไร้ค่า หรือรู้สึกผิดอย่างไม่สมเหตุสมผล
8.สมาธิลดลง ลังเลใจ
9.คิดเรื่องการตาย หรือฆ่าตัวตาย
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
1.ความเครียดทางร่างกาย
2.ความเครียดด้ายจิตใจ
3.ความเครียดด้านสังคม
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของมารดาและทารก
ต่อมารดาหลังคลอดและครอบครัว
1.มารดาหลังคลอดจะสูญเสียสมรรถภาพ ทางร่างกาย จากการพักผ่อนไม่เพียงพอ ความเหนื่อยอ่อนเซื่องซึม
สูญเสียพลังงาน มีสุขภาพจิตที่ไม่สมบูรณ
มารดาหลังคลอดสูญเสียความสนใจในชีวิต สมรสโดยเฉพาะเรื่องเพศสัมพันธ์ทำให้ชีวิตสมรสไม่ราบรื่นอาจเป็นสาเหตุของการหย่าร้าง
มารดาหลังคลอดมีพฤติกรรม การทาร้ายตัวเองเช่นดื่มสุราสูบบุหรี่เสพสารเสพติดหรือการฆ่าตัวตาย
3.โรคจิตหลังคลอด เป็นอันตรายและเป็นภาวะฉุกเฉิน
พบได้น้อย ประมาณร้อยละ 0.09 แต่อาการมักรุนแรง เริ่มใน 2-3 วันแรกหลังคลอด อาจพบอาการของโรคได้
ภายใน 1 เดือนแรกหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
1.อาการนำ เริ่มด้วยความไม่สุขสบายก่อน อาการแรกๆที่พบบ่อย คือ นอนไม่หลับ บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง ขาดความสนใจในสิ่งแวด้ลอมรอบตัว
2.อาการโรคจิตหลังจากน้ัน อาจมีอารมณ์ซึมเศ้ราหรือ
อารมณ์ดีแบบไม่สมเหตุสมผล อารมณ์จะเปลี่ยนแปลงเร็วมาก อาจมีอาการโรคจิตหรือวิกลจริตร่วมกับความผิดปกติของอารมณ์ซึ่งอาการโรคจิตที่จำเพาะของโรคจิตหลัง
คลอด
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
เคยมีประวัติโรคจิตหลังคลอด
มีประวัติเป็นbipolarมีโอกาสที่จะเป็นโรคนี้ สูงกว่าสตรีทั่วไป ร้อยละ 40
มีบุคลิกภาพแปรปรวนอยู่ก่อนแล้ว
มีความเครียดขณะตั้งครรภ์และขาดการสนับสนุนจาก
บุคคลรอบข้างและอาจมีปัญหาเศรษฐกิจ
มีประวัติบุคคในครอบครัวญาติใกล้ชิดป่วยด้วยอาการ bipolar
แนวทางการรักษา
การรักษาโดยไม่ใช่ยาได้ผลดีในภาวะซึมเศร้า
หลังคลอด
การรักษาด้วยไฟฟ้า (electroconvulsive therapy, ECT) การทพให้ชักโดยใช้ กระแสไฟฟ้าในปริมาณทเหมาะสมผ่านเข้าสมองทางขั้วตัวนำไฟฟ้า
การทำจิตบำบัด(psychotherapy) บำบัดรายบุคคล กลุ่ม ครอบครัวหรือระหว่างคู่สมรส
การปรับพฤติกรรมด้วยความคิด (cognitive behavioral therapy, CBT) ช่วยให้มารดา หลังคลอดที่มีภาวะซึมเศร้าสามารถปรบัพฤตกิรรมในด้านลบและปรับความคิดให้สอดคล้องกับความจริง
การรักษาโดยใช้ยา
1.ยากลุ่ม SSRIs เป็นยา
ที่มีผลต่อระดับ serotonin ในสมองแพทย์เลือกใช้เป็นลำดับแรกเพราะมีประสิทธิภาพในการรักษาสูง ปลอดภัย
ยาต้านการซึมเศร้า เช่น Fluoxetine, Sertraline, Paroxetine
ยากลุ่ม SNRIs และ NDRIs เช่น Bupropion, Mirtazapine
3.ยากลุ่ม TCAs ใช้กรณีที่
มีอาการรุนแรง หรือรักษาด้วย SSRIs และ SNRIs
ไม่ได้ผล ยากลุ่มนี้มีผลต่อจำนวนสารสื่อประสาท
ในสมอง เช่น amitriptyline, clomipramine, nortriptyline
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของมารดาและทารก
1.สูญเสียสมรรถภาพทางร่างกายจากความผดิปกติใน
การพักผ่อนนอน หลับ เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลงอย่าง
รวดเร็ว
2.ขาดความสนใจทางเพศ อาจเป็นสาเหตุการหย่าร้าง
3.รู้สึกว่าตนเองมีอารมณ์เศร้าในช่วงเวลาที่มีควรมีความสุข และลังเล ที่จะะเล่าอาการหรือความรู้สึกในทางร้ายของตนที่มีต่อทารกให้ผู้อื่นทราบ
4.รู้สึกว่าห่างเหินต่อบุตรซึ่งอาจเกิดจากอาการไม่สบาย
หรือจากการถูกแยกออกจากบุตร
5.อาจทำร้าย หรือ ฆ่าทารก(infanticide) เนื่องจากมีอาการวิกลจริตไปชั่วคราวและไม่มีความสามารถรู้ผิดชอบชั่วดี
6.มีโอกาสเกิดโรคจิตหลังคลอดช้าในการคลอดครั้งต่อไป สูงถึงร้อยละ 30-50
การพยาบาล
1.การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
เริ่มตั้งครรภ์ ต้องไปฝากครรภ์เพื่อรับคำแนะนำในการปฏิบัติตัว ป้องกัน รักษาโรคที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์
สอนสุขภาพจิตศึกษา
แนะนำเรื่องโภชนาการในช่วงตั้งครรภ์
การออกกำลังกาย เบาๆ อย่างสม่ำเสมอ ช่วยให้เอนโดฟินหลั่ง สตรีตั้งครรภ์ รู้สึกกระปรี้กระเปร่า อารมณ์แจ่มใส
ส่งเสริมการทำกิจกรรมหรือเสริมสร้างพลังทางจิตวิญญาณ ได้แก่ การสวดมนต์ ทำสมาธิ และกิจกรรมทางศาสนา
2.การพยาบาลในระยะคลอด
1.การประเมินหลังคลอด ประเมินภาวะซึมเศร้าของมารดาหลังคลอด
2.การดูแลสตรีที่มีความผิดปกติทางจิตใจในระยะหลังคลอด
3.การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดความผิดปกติทางจิตใจในระยะหลังคลอด โดยใช้โปรแกรม “NURSE Program
3.การดูแลต่อเนื่องหลังจำหน่าย
1.การประเมินภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับมารดาหลังคลอด เช่น การเข้าอู่ของมดลูก แผลฝีเย็บ น้ำคาวปลา การขับถ่ายปัสสาวะ
เต้านม หัวนม การไหลของน้ำนม รวมทั้งความเครียด
ความวิตกกังวล
2.การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด
และทารก การทบทวนความรู้
ในการดูแลตนเอง เช่น อาหาร การพักผ่อน
การทำความสะอาดร่างกาย แผลฝีเย็บ
การเปลี่ยนผ้าอนามัย การบริหารร่างกาย
ประเมินทักษะความสามารถ
ในการดูแลทารก การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การอุ้ม
การจับเรอ การทำความสะอาดสะดือ การอาบน้ำเด็ก
การจัดท่านอน
4.การประเมินภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับทารก ประเมินการเจริญเติบโตของทารก การได้รับน้ำนมแม่
การชั่งน้ำหนัก ประเมินภาวะตัวเหลือง สะดืออักเสบ