Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 10 การวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 10 การวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ
อิงหลักการวัด
นำข้อมูลที่วัดได้เป็นตัวเลข มาทำการวิเคราะห์ แปลผลด้วยวิธีการทางสถิติ เพื่อตอบปัญหาการวิจัย
เน้นความเป็นปรนัย
ให้ความสำคัญกับเครื่องมือวิจัยที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เน้นความเป็นกลางไม่เอนเอียงในกระบวนการวิจัย
เน้นการออกแบบการวิจัยโดยเคร่งครัด
รูปแบบหลักของการวิจัยเชิงปริมาณที่พบในการวิจัยทางสังคมศาสตร์
ความหมายของการวิจัยเชิงปริมาณ
การวิจัยที่ต้องอาศัยระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร์เพอ่ืคน้หาความจริง เป็นการวิจัยที่มีระเบียบวิธีที่ชัดเจนในการวิจัย
ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงปริมาณ
เป้าหมายของการวิจัยเชิงปริมาณโดยหลักใหญ่ คือ มุ่งศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์
มีแบบแผนเฉพาะเจาะจงที่ชัดเจนแน่นอน
มีการตง้ัคำถามวิจัยหรือสมมติฐานวิจัยที่เจาะจงไว้ก่อน
เทคนิควิธีเชิงปรมิาณเป็นหวัใจของการวิจัยทุกขั้นตอน
เทคนิคการเก็บข้อมูลโดยองิเคร่อืงมือวดัต่างๆ
จุดมุ่งหมายและประเภทของการวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
จุดมุ่งหมายของการวิจัยเชิงปริมาณ
เพื่อการสำรวจ
เพื่อบรรยายหรือพรรณนา
เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ และทำนาย
เพื่อควบคุม
ประเภทของการวิจัยเชิงปริมาณ
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
การวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
การวิจัยเชิงทดลอง
กระบวนการดำเนินงานวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การกำหนดโจทย์ หรือปัญหาและวัตถุประสงค์การวิจัย
การทบทวนวรรณกรรม
การสร้างกรอบแนวคิดและสมมติฐานการวิจัย
การออกแบบการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การจัดกระทำและวิเคราะห์ข้อมูล
การเขียนรายงานการวิจัยและการเสนอผล
การวิจัยเชิงปริมาณแบบไม่ทดลองในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยเชิงสำรวจในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงสำรวจ
จุดมุ่งหมายการวิจัยเชิงสำรวจ
ลักษณะการวิจัยเชิงสำรวจ
ข้อดีของการวิจัยเชิงสำรวจ
ข้อจำกัดของการวิจัยเชิงสำรวจ
รูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิเคราะห์และการนำเสนอผลการวิจัยเชิงสำรวจ
การนำการวิจัยเชิงสำรวจไปใช้
การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
รูปแบบการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์แคนนอนิคัล
การวิเคราะห์และการนำเสนอผลการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
การนำการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ไปใช้
การวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
รูปแบบการวิจัยเชิงการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
. รูปแบกลุ่มเปรียบเทียบ
รูปแบบความสัมพันธ์ร่วม
การวิเคราะห์และน าเสนอผลการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
การนำการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุไปใช้
การวิจัยเชิงปริมาณแบบการทดลองและแบบกึ่งการทดลองในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยเชิงปริมาณแบบการทดลองขั้นต้นในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แบบแผนการทดลองขั้นต้น
การวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิจัยเชิงทดลอง
การนำการวิจัยเชิงทดลองไปใช้
กำหนดตัวแปรต่าง ๆ
การเปรียบเทียบ posttest
วิิธีการสุ่ม
การวิจัยเชิงปริมาณแบบการทดลองจริงในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แบบแผนการทดลองจริง
การดำเนินการทดลองและการเก็บข้อมูล
วิิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสรุปผลการวิจัย
การวิจัยเชิงปริมาณแบบกึ่งการทดลองในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แบบแผนการทดลองกึ่งการทดลอง
ทดลองและการเก็บข้อมูล
วเิคราะหข์อ้มูลเพอ่ืสรุปผลการวจิย