Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 13 การวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริม และพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 13 การวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินใน การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย
กระบวนการตัดสินคุณค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างเป็นระบบ
ความสำคัญของการประเมิน
ช่วยให้ได้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสภาวการณ์ต่างๆ
ช่วยให้ทราบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับความก้าวหน้าของการดำเนินการตามแผนงาน
ขอบเขตของการประเมิน
การประเมินวัตถุประสงค์
การประเมินการดำเนินงานตามโครงการ
การประเมินประสิทธิผลของการดำเนินงาน
การประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินงาน
การประเมินผลกระทบของการดำเนินงาน
การประเมินผลการดำเนินงานทั้งหมดพร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะ
ประเภทของการประเมิน
ตามลำดับเวลาการบริหารแผน/โครงการ
ตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน
ตามเนื้อหาการประเมิน
ตามสิ่งที่เป็นหลักยึดในการประเมิน
รูปแบบการประเมิน
เน้นจุดมุ่งหมาย
เน้นการตัดสินคุณค่า
เน้นการตัดสินใจ
แผนแบบและกระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร :
แผนแบบการวิจัยเชิงประเมิน
การวิจัยเชิงประเมินโดยใช้แผนแบบทดลอง
การวิจัยเชิงประเมินโดยใช้แผนแบบไม่ทดลอง
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
ศึกษารายละเอียดของแผน/โครงการที่จะทำการประเมิน
ระบุหลักการและเหตุผลของการประเมิน
กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตการประเมิน
กำหนดกรอบแนวคิด แบบ และรูปแบบการวิจัยเชิงประเมิน
กำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์ที่ใช้ตัดสินหรือเปรียบเทียบ และพัฒนาเครื่องมือเก็บข้อมูล
กำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูล
ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล
ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล
จัดทำรายงานการวิจัยเชิงประเมิน
ตัวชี้วัดในการวิจัยเชิงประเมิน
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับตัวชี้วัดในการวิจัยเชิงประเมิน
เครื่องมือหรือสิ่งที่บ่งบอกถึงความก้าวหน้า
ตัวชี้วัดที่ดีต้องสามารถวัดผลได้ตรงประเด็น ไม่ยุ่งยาก เข้าใจง่าย
สามารถใช้ในการอธิบายสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่สามารถวัดและเปรียบเทียบได้
ลักษณะของค่าตัวชี้วัดในการวิจัยเชิงประเมิน
ตัวชี้วัดที่เป็นจำนวน
ตัวชี้วัดที่เป็นค่าเฉลี่ย
ตัวชี้วัดที่เป็นค่าสัดส่วน
ตัวชี้วัดที่เป็นค่าร้อยละ
ตัวชี้วัดที่เป็นอัตราส่วน
ตัวชี้วัดที่กำหนดเป็นคะแนน
การจัดทำตัวชี้วัดในการวิจัยเชิงประเมิน
เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของแผน/โครงการ
เพื่อติดตาม/ประเมินผลแผน/โครงการ
การดำเนินการวิจัยเชิงประเมิน
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเก็บรวบรวมข้อมูล
วัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงประเมิน
คุณสมบัติของประชากรที่ศึกษา
ระยะเวลาที่ศึกษา
งบประมาณและบุคลากร
วิเคราะห์ข้อมูล
วัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงประเมินแต่ละข้อ
ตัวชี้วัดวัตถุประสงค์แต่ละข้อ
ที่มาของข้อมูลของตัวชี้วัด
คุณสมบัติของตัวชี้วัด
สถิติที่ใช้ในการพรรณนาและวิเคราะห์ข้อมูล
การเขียนรายงานผลการวิจัยเชิงประเมิน
รายงานฉบับสำหรับผู้บริหารและผู้วางนโยบาย
รายงานฉบับวิชาการ