Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chronic kidney disease - Coggle Diagram
Chronic kidney disease
-
โรคไตเรื้อรัง
-
อาการและอาการแสดง
กรณีศึกษา
ผู้ป่วย มีผิวดำ แห้ง คันตาม ปอดมีเสียง Capitation บวมตามร่างกาย หน้า เเขนขาทั้ง 2 ข้าง เบื่ออาหาร คลื่นไส้
การตรวจร่างกาย
ผิวหนังและเล็บ : สีผิวสีดำ ผิวแห้ง คันตามผิวหนัง
ศรีษะ : ศรีษะและใบหน้าสมมาตรา หน้าบวม ขาบวมกดบุ๋ม 3+
หัวใจและหลอดเลือด : หายใจเหนื่อยหอบเร็ว 24 ครั้ง/นาที อัตราการเต้นของหัวใจ 110 ครั้ง/นาที
-
ทฤษฎี
อาการที่ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังมาพบแพทย์ในระยะเเรก อ่อนเพลีย เหนื่อย ง่ายกว่าปติ อาการอื่นๆ คือ ซึมลง มึนงง นอนไม่หลับ คันตามตัว ผิวแห้ง เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน การรับรสของลิ้นเปลี่ยนไป น้ำหนักลด ชาตามปลายมือปลายเท้า ปวดศรีษะ เป็นต้น
การวินิจฉัยโรค
ทฤษฎี
ผู้ป่วยที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งในสองข้อต่อไปนี
ภาวะไตผิดปกติ
-eGFR ลดลง
ภาวะไตผิดปกติ(renal damage) ติดต่อกันเกิน 3 เดือน
อาจจะมีอัตราการกรองของไต (GFR) ผิดปกติหรือไม่ก็ได้
มีลักษณะตามข้อใดข้อหนึ่ง
1.1 ตรวจพบความผิดปกติอย่างน้อย 2 ครั้ง ในระยะเวลา 3 เดือน
- ตรวจพบอัลบูมินในปัสสาวะ (albuminuria)
- Urine AER > 30 mg/24 ชม *ACR > 30 mg/g
- Protein dipstick ≥ 1+ *microalbumin dipstick +
- ตรวจพบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ (hematuria)
- มีความผิดปกติของเกลือแร่ (electrolyte) ที่เกิดจากท่อไตผิดปกติ
1.2 ตรวจพบความผิดปกติทางรังสีวิทยา เช่น อัลตราซาวว์นพบถุงน้ำในไตนิ่ว, ไตพิการ หรือไตข้างเดียว
1.3 ตรวจพบความผิดปกติทางโครงสร้าง หรือทางพยาธิสภาพจากผลการเจาะเนื้อเยื่อไต
1.4 มีประวัติการได้รับผ่าตัดปลูกถ่ายไต
1.มีภาวะไตผิดปกตินานติดต่อกันเกิน 3 เดือน และอาจจะมีอัตราการกรองของไต (eGFR) ผิดปกติหรือไม่ก็ได้
2.ผู้ป่วยมีระดับๆ eGFR น้อยกว่า 60 มล./นาที/1.73 ตรเมตร ติดต่อกันเกิน 3 เดือน โดยอาจจะตรวจพบหรือไม่พบว่ามีภาวะไตผิดปกติก็ได้
-
-
พยาธิสภาพ
ทฤษฎี
เกิดจากการเสื่อมของไต และการถูกทำลายของหน่วยไต มีผลให้อัตราการกรองทั้งหมดลดลงและการขับถ่ายของเสียลดลง ปริมาณครีตินิน และ ยูเรียไนโตรเจน ในเลือดสูงขึ้น หน่วยไตที่เหลืออยู่จะเจริญมากผิดปกติเพื่อกรองของเสียที่มีมากขึ้น ผลที่เกิดทำให้ไตเสียความสามารถในการปรับความเข้มข้นปัสสาวะ ปัสสาวะถูกขับออกไปอย่างต่อเนื่อง หน่วยไตไม่สามารถดูดกลับเกลือแร่ต่างๆได้ ทำให้สูญเสียเกลือแร่ออกจากร่างกายจากการที่ไตถูกทำลายมากขึ้น และการเสื่อมหน้าที่ของหน่วยไต ทำให้อัตราการกรองของไตลดลง ร่างกายจึงไม่สามารถขจัดน้ำ เกลือ ของเสียต่างๆ ผ่านได้ เมื่ออัตราการกรองของไตน้อยกว่า10-20 มล./นาที ส่งผลให้เกิดการคั่งของยูเรียในร่างกายเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในที่สุด ดังนั้นเมื่อเข้าสู่ระยะดังกล่าวผู้ป่วยจึงควรได้รับการรักษาด้วยการบำบัดทดแทนไต
การรักษา
ทฤษฎี
- ชะลอความเสื่อมของไต ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิต ควบคุมอาหารโปรตีน ควบคุมเกลือ ควบคุมน้ำ อาหารไขมัน งดบุหรี่ สุรา ควบคุมการใช้ยาแก้ปวด ยาเบาหวาน ฯลฯ จัดการภาวะซีด ติดเชื้อและของเสียคั่งในเลือด การใช้ยาขับปัสสาวะ
(ระวังอิเลคโตรไลค์ไม่สมดุล)
- รักษาทดแทนไต (ล้างไต) มี 2 ประเภท ได้แก่ ฟอกเลือด (Hemodialysis) และ ล้างไตทาง
หน้าท้อง (CAPD) ซึ่งการดูแลต้องระมัดระวังเรื่องการติดเชื้อ สมดุลน้ำและอิเลคโตรไลค์ สำหรับการฟอกเลือดต้องมีการดูแลเส้นเลือดด้วย
- ปลูกถ่ายไต ให้การพยาบาลหลังผ่าตัด สังเกตการปฏิเสธเนื้อเยื่อ ฯลฯ
-
-
-
ภาวะแทรกซ้อน
ทฤษฎี
- การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลกรด-ด่าง ทำให้เกิด ภาวะกระดูกกร่อน ภาวะเลือดเป็นกรด มีอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน
เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า ในรายที่มีอาการมากจะมีอาการ หายใจหอบลึก หายใจเร็วลึก
(kussmaul respiration) ซึม และหมดสติในที่สุด
- การเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้ำในร่างกาย ผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายจะพบว่ามีอาการของการขาดน้ำหรือภาวะน้ำเกิน
- การเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจและหลอดเลือด ผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ได้แก่ ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง หัวใจล้มเหลว เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
5.ปัญหาในระบบทางเดินหายใจในผู้ป่วยไตวาย
เรื้อรังได้แก่ ภาวะน้ำท่วมปอด การติดเชื้อในปอด เยื่อหุ้มปอดอักเสบ และ น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด
- การเปลี่ยนแปลงของระบบเลือด เกิดการเปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยาหลายประการ ได้แก่ ภาวะซีดหรือโลหิตจาง เลือดออกง่ายกลไกการเกิดลิ่มเลือดผิดปกติการทำงานของเม็ดเลือดขาว
- การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินอาหาร เกิดการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ปากจนถึงทวารหนัก เริ่มแรก จะมีอาการ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ลิ้นมีรสเฝื่อน ท้องผูก มีการหลั่งกรดในกระเพาะ อาหารเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดการอักเสบของกระเพาะอาหาร และมีแผลในลำไส้
- การเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท พบความผิดปกติในระบบประสาทส่วนกลาง ส่วนปลาย 8. การเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท พบความผิดปกติในระบบประสาทส่วนกลาง ส่วนปลาย ผิดปกติ เช่น ไม่มีสมาธิ เฉื่อยชา พูดช้า หลงลืมง่าย ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ หงุดหงิดง่าย ซึมลง ชักและหมดสติ
- การเปลี่ยนแปลงของระบบผิวหนัง จะมีลักษณะของผิวหนังคือ ผิวสีเหลืองปนเทา ซีด ผิวหนังบาง แห้ง มีอาการบวม จ้ำเลือด
- การเปลี่ยนแปลงของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ พบอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงจาก
การมีฟอสฟอรัสสูง และ แคลเซียมต่ำ มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูก (renal) ได้แก่ ผิวหนัง ตา หลอดเลือด หัวใจ ปอด ข้อต่อกระดูก ทำให้เกิดเกิดอาการเจ็บปวดตามข้อ
- การเปลี่ยนแปลงของระบบต่อมไร้ท่อ มีอาการและอากรแสดงของต่อมไร้ท่อทำงานผิดปกติ
ในต่อมไทรอยด์
- การเปลี่ยนแปลงของระบบสืบพันธุ์ ในเพศชายพบการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
- การเปลี่ยนแปลงของดวงตา ผู้ป่วยมักมีตาแดง ตามัว
- การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม มักเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางสรีรภาพ หรือภาวะ
เครียด
1.การเปลี่ยนแปลงทางเมตาบอลิค
1.1 ยูเรียและครีตินิน
1.2 โซเดียม
1.3โปตัสเซียม
1.4 แคลเซียมและฟอสเฟส
1.5 แมกนีเซียม
-
ข้อมูลทั่วไป
ผู้ป่วยหญิงไทยวัยสูงอายุ อายุ 58 ปี
เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย อาชีพแม่บ้าน
รับไว้ในการดูแลวันที่ 26 เมษายน 2566
:
อาการสำคัญ : เวียนศรีษะ วูบหมดสติ 30 วิ
30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน : มาตามนัด ขณะรอกลับบ้าน เวียนศรีษะ วูบหมดสติ 30 วิ 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต : Hypertension
การตรวจร่างกาย
ผิวหนังและเล็บ : สีผิวสีดำ ผิวแห้ง ไม่มีรอยแผลตามร่างกาย คันตามผิวหนัง
ศรีษะ : ศรีษะและใบหน้าสมมาตรา หน้าบวม ขาบวมกดบุ๋ม 3+ การกระจายของเส้นผมดี ผมสีดำ ไม่มีแผลที่หนังศรีษะ ไม่มีรังเเค เปลือกตาซีด
pupil 3 mm เท่ากันทั้ง 2 ข้าง มองเห็นชัดเจน ริมฝีปากเเห้
หัวใจและหลอดเลือด : หายใจเหนื่อยหอบเร็ว 24 ครั้ง/นาที อัตราการเต้นของหัวใจ 110 ครั้ง/นาที
ปอด : ฟังปอดพบเสียง capitation
หน้าท้อง : ลักษณะท้องอ่อนนุ่ม ไม่เเข็งตึง ท้องบวม
สัญญาณชีพ : T=36.4องศาเซลเซียส R=24 ครั้ง/นาที P=120 ครั้ง/นาที BP=69/40 มิลลิเมตรปรอท
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
WBC กับ Neutrophils สูง เนื่องจากผู้ป่วยมีของเสียคั่งในร่างกายและไม่สามารถขับออกจากร่างกายได้จึงอาจเกิดการติดเชื้อในช่องท้องได้ ทำให้WBCและNutrophilsมีค่าสูงขึ้น
Creatinine(eGFR).,Lactate สูง เนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่ทำให้การกรองไม่มีประสิทธิภาพส่งผลให้ เกิดการคั่งของของเสียในร่างกาย
Troponin สูง เนื่องจากว่าเสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจตาย เนื่องจากผู้ป่วยมีภาวะ Septic shockทำให้ความดันโลหิดต่ำ อาจส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงหัวใจได้ไม่เพียงพอ
Albumin ต่ำ เนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่ทำให้การกรองไม่มีประสิทธิภาพจนทำให้โปรตีนหรือ albumin หลุดไปทางปัสสาวะ ทำให้albuminในกระแสเลือดลดลง จนหลอดเลือดไม่สามารถคงสภาพน้ำไว้ได้ทำให้น้ำ leak ออกมาตามเนื้อเยื่อตามร่างกายทำให้เกิดการบวม
Na,K ต่ำ ผู้ป่วยมีการล้างไตทางช่องท้อง ทำให้ร่างกายสูญเสียอิเล็คโทรไลต์ผ่านทางน้ำล้างไต ส่งผลให้ค่าอิเล็คโทรไลต์ต่ำลง
troponinสูง เนื่องจากผู้ป่วยเกิดภาวะ shock ส่งผลให้เลือกหนืดจนทำให้การไหลเวียนโลหิตลดลง ทำให้เลือดไปเลี้ยงหัวใจไม่เพียงพอ จนหัวใจหลั่งสาร troponin ปริมาณมาก
Hct สูง เนื่องจาก ผู้ป่วยมีภาวะเลืออดข้นหนืดเกินไป เนื่องมาจากเกิดภาวะช็อค
MCV,MCH ต่ำ เนื่องจากการขาดธาตุเหล็กและวิตามิน
ค่าแลปที่ผิดปกติ
Creatinine= 7.13 md/dl. ค่าปกติ 0.51-1.17
Albumin = 2.50 g/dl ค่าปกติ 3.5-5.2
Na =132 mmol/lค่าปกติ 136-145
K =3.22 mmol/l ค่าปกติ 3.4-4.5
Cl =92 mmol/l ค่าปกติ 98-107
Lactate 56.2 mg/dl. ค่าปกติ 4.5-19.8
WBC COUNT =20530 cell/cu.m.mH ค่าปกติ 4400-11300
Hct =52.3 % ค่าปกติ 37.0-51.9
MCV =79.3 fl ค่าปกติ 80.4-98.8
MCH= 24.0 Pg ค่าปกติ 25.0-33.1
-
ระยะของโรคไตวายเรื้อรัง
ทฤษฎี
มี 5 ระยะ
- เป็นระยะที่เนื้อไตเริ่มถูกทำลาย แต่เมื่อวัดค่า GFR ยังพบว่ามีค่าปกติคือ มากกว่า 90 มิลลิลิตรต่อนาที ต่อพื้นที่ผิวร่างกาย (body surface area,BSA) 1.73 ตารางเมตร
2.เป็นระยะที่เนื้อไตเริ่มถูกทำลายมากขึ้น และตรวจพบค่า GFR ลดลง โดยค่า GF R ลดลงน้อยกว่า 90 มิลลิลิตรต่อนาที แต่ไม่เกิน 60 มิลลิลิตรต่อนาทีต่อพื้นที่ผิวร่างกาย (body surface area, BSA) อธิบาย BSA 1.73 ตารางเมตร
- เริ่มตั้งแต่ค่า GFR ลดลงต่ำกว่า 60 มิลลิลิตรต่อนาที จนถึง30 มิลลิลิตรต่อนาทีต่อพื้นที่ผิวร่างกาย (body surface area, BSA) 1.73 ตารางเมตรอย่างไรก็ตามต้องนำค่า serum creatinine มาคำนวณเป็นค่า creatinine clearanceหรือค่า GFR ก่อนยึดตามอายุ น้ำหนัก และเพศ โดยค่า serum creatinine จะอยู่ใน
ช่วง 1.2 - 2 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
- ระยะนี้ผู้ป่วยจะมีการดำเนินของโรคไตเรื้อรังที่รุนแรงค่า GFR ลดลงอยู่ระหว่าง 15 - 30 มิลลิลิตรต่อนาทีต่อพื้นที่ผิวร่างกาย (body surface area,BSA) 1.73 ตารางเมตร และค่า serum creatinine จะอยู่ในช่วง 3 - 5 มิลลิกรัมต่อ
เดซิลิตร
- หรือระยะไตเรื้อรังระยะสุดท้าย ในระยะนี้ผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย มีค่า GFR ต่ำกว่า 15 มิลลิลิตรต่อนาทีต่อพื้นที่ผิวร่างกาย (bodysurface area, BSA) 1. 73 ตารางเมตร และระยะนี้เป็นระยะที่ผู้ป่วยควรได้รับการบำบัด
ทดแทนไต (renal replacement therapy! อย่างใดอย่างหนึ่ง
-
ความหมาย
โรคไตเรื้อรัง (chronic kidney disease, CKD) หมายถึง การสูญเสียการทำหน้าที่ของไตในการขจัดของเสีย การรักษาความสมดุลของสารน้ำ อิเล็กโทรไลต์ ภาวะกรด-ด่างในร่างกาย ซึ่งมีความรุนแรงมากพอที่จะทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้หาก
ไม่ได้รับการบำบัดทดแทนไต (การล้างไตทางหน้าท้อง (Peritoneal dialysis (PD), การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
(Hemodialysis dialysis (HD) หรือ การผ่าตัดเปลี่ยนไต
(Kidney transplantation (KT)ดยการสูญเสียหน้าที่ของไตนี้ต้องใช้เวลาเป็นเดือนและนานเป็นปีโดยการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังประเมินจาก glomerularfltration rate (GFR) และ GFR
ยังถูกใช้ในการประเมินความรุนแรงของโรคไตเรื้อรังร่วมกับการตรวจพบจากหลักฐานอื่นๆที่บ่งบอกว่าไตถูกทำลายเช่น proteinuria, bardcast in urine, renal osteodystrophy