Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคจิตชนิดอื่นๆ (Other psychotic disorder) - Coggle Diagram
โรคจิตชนิดอื่นๆ (Other psychotic disorder)
Brief psychotic disorder
มีอาการโรคจิตเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเป็นอย่างน้อย 1 วัน และไม่เกิน 1 เดือน มักมีสาเหตุกระตุ้นชัดเจน ผู้ป่วยจะมีหน้าที่การงานดีในช่วงก่อนป่วย และเมื่อหาย จะกลับมาเป็นปกติเหมือนเดิม
Schizophreniform
มีอาการเหมือนโรคจิตเภท แต่ระยะเวลานานกว่า 1 เดือน และน้อยกว่า 6 เดือน
Schizoaffective disorder
มีอาการของโรคจิตและโรคทางอารมณ์ โดยต้องมีช่วงที่อาการโรคจิตเกิดขึ้นโดยไม่มีอาการทางอารมณ์ร่วม อย่างน้อย 2 สัปดาห์ และมีอาการของโรคทางอารมณ์นานพอสมควร
Delusional disorder
มีอาการหลงผิดเป็นอาการเด่นมี nonbizarre delusion มักเชื่อมโยงเป็นเรื่องเดียวกันการพูดและท่าทางดูปกติ อารมณ์มักสอดคล้องกับเรื่องที่เล่ามีอาการอย่างน้อย 1 เดือน ส่วน
ใหญ่ยังสามารถทำหน้าที่ต่างๆได้ตามปกติ ยกเว้นเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาการหลงผิด
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยจิตเภท
การประเมินภาวะสุขภาพ
ประเมิน 4 กลุ่มอาการของผู้ป่วย คือ
positive symptoms
negative symptoms
cognitive symptoms
affective symptoms
ประวัติส่วนบุคคลของผู้ป่วย การเจ็บป่วยปัจจุบันและอดีต
ยาโรคที่อาจมีอาการเหมือนกับโรคจิต
ภาวะติดยาหรือสารเสพติด
ความปลอดภัยความเสี่ยงต่อตนเองและผู้อื่น ความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
ภาวะประสาทหลอน และความคิดหลงผิด
ความสามารถในการดูแลตนเอง
การรับประทานยาตามแผนการรักษา
ตรวจสภาพจิต
การรู้จักตนเอง ความรู้เกี่ยวกับการเจ็บป่วยของผู้ป่วยและ
ครอบครัว
เป้าหมายทางการพยาบาลตามระยะของโรค
acute phase
ปลอดภัยจากการทำร้ายตนเองหรือผู้อื่น
บอกได้ว่าภาวะประสาทหลอนไม่เป็นความจริง
stabilizing phase
เข้าใจโรคและการรักษา
ให้ความร่วมมือในการรับประทานยา
ควบคุม/เผชิญกับอาการทางจิต
อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ประกอบอาชีพ ดูแลกิจวัตรประจำวันได้
maintenance phase
-คงไว้ซึ่งแรงจูงใจ
ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
พึ่งพาตนเองได้ และพึงพอใจในคุณภาพชีวิต
การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเชิงบำบัด
ไม่คล้อยตามกับอาการประสาทหลอน/อาการหลงผิดของผู้ป่วย
Present reality เมื่อผู้ป่วยมีอาการหลงผิด หรืออาการประสาทหลอน มีสัมพันธภาพที่ดี บอกความคิด ความรู้สึกของพยาบาลต่อความเป็นจริง
การพยาบาลผู้ที่มี hallucination
พยาบาลเข้าใจประสบการณ์ และการตอบสนองต่อประสาทหลอนของผู้ป่วย
เรียกชื่อผู้ป่วย ใช้คำพูดที่เข้าใจง่าย เสียงดังเพียงพอที่จะได้ยิน
วิธีการควบคุมตนเองเมื่อมีอาการประสาทหลอน
ไม่สนใจ
ร้องเพลง/พูดขึ้นมา หรือใช้เสียงของตนเองขับไล่เสียงที่ได้ยินนั้นไป
ทดสอบความจริง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมรุนแรง
ป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยและผู้อื่นได้รับอันตราย
เพิ่มการดูแลและเฝ้าระวัง ลดสิ่งเร้า
หันเหความสนใจให้ระบายพลังทางร่างกายออกมาอย่างสร้างสรรค์
สอนและฝึกทักษะการเผชิญปัญหา
ปรับความคิดและพฤติกรรม ลดการพูดถึงความตึงเครียด
ให้ยาตามแผนการรักษาเพื่อสงบอาการ
จำกัดพฤติกรรม เข้าห้องแยกและผูกยึดผู้ป่วยตามความจำเป็น
กระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกลุ่มกิจกรรม
การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา
การวางแผนการจําหน่ายผู้ป่วยจิตเภท
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับสาเหตุ ยา อาการข้างเคียงของยา วิธีการเผชิญปัญหา สิ่งที่คาดหวัง และการป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
สนับสนุนให้เข้าร่วมกิจกรรมบำบัด และสามารถระบุแหล่งช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องในการจัดการกับการเจ็บป่วยได้
สนับสนุนและดูแลติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่องในชุมชนตามสภาพความเป็นจริง
การดูแลต่อเนื่องในชุมชน
การบริหารจัดการยาหรือความร่วมมือกับการรับประทานยา
สัมพันธภาพที่ไว้วางใจกับผู้ให้การดูแล
บริการเพื่อการบำบัดโดยมีชุมชนเป็นฐาน โดยทำจิตบำบัดแบบกลุ่มและแบบรายบุคคล กิจกรรมต่างๆและการฝึกต่างๆ เช่น ทักษะทางสังคม และการเผชิญปัญหา)
การให้สุขภาพจิตศึกษาย