Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคจิตชนิดอื่นๆ (Other psychotic disorder) 2FE3DBCD-A700-43FD-94D9…
โรคจิตชนิดอื่นๆ (Other psychotic disorder)
Brief psychotic disorder มีอาการโรคจิตเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเป็นอย่างน้อย 1 วัน และไม่เกิน 1 เดือน
Schizophreniform disorder มีอาการเหมือนโรคจิตเภท แต่ระยะเวลานานกว่า 1 เดือน และน้อยกว่า 6 เดือน
Schizoaffective disorder มีอาการของโรคจิตและโรคทาง อารมณ์โดยต้องมีช่วงที่อาการโรคจิต เกิดขึ้นโดยไม่มีอาการทาง อารมณ์ร่วม อย่างน้อย 2 สัปดาห์และมีอาการของโรคทาง อารมณ์นานพอสมควร
Delusional disorder มีอาการหลงผิดเป็นอาการเด่น มี nonbizarre delusion มักเชื่อมโยงเป็นเรื่องเดียวกัน การพูดและท่าทางดูปกติ อารมณ์มักสอดคล้องกับเรื่องที่เล่า มีอาการอย่างน้อย 1 เดือน
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยจิตเภท
การประเมินภาวะสุขภาพ
positive symptoms
เสี่ยงต่อการทําร้ายตนเอง และ/หรือผู้อื่น เนื่องจากมี ความคิด และ/หรือการรับรู้ที่ผิดปกติ
บกพร่องในการควบคุมตนเอง เนื่องจากมีความคิดผิดปกติ
บกพร่องในการมีสัมพันธภาพ
ของผู้อื่นเนื่องจากมีความคิด ผิดปกติ
negative symptoms
เสี่ยงต่อการทําร้ายตนเองเนื่องจาก ความรู้สึกโดดเดี่ยว/ รู้สึกด้อยค่าในตนเอง
พร่องสุขวิทยาส่วนบุคคลเนื่องจาก ขาดความสนใจในการดูแลตนเอง/
หมกมุ่นกับอาการทางจิต
cognitive symptoms
affective symptoms
เป้าหมายทางการพยาบาลตามระยะของโรค
acute phase
ปลอดภัยจากการทําร้ายตนเองหรือผู้อื่น และอาการคงที่
บอกได้ว่าภาวะประสาทหลอนไม่เป็นความจริง เป็นอาการของความเจ็บป่วย
stabilizing phase
เข้าใจโรคและการรักษา
ให้ความร่วมมือในการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ
อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ประกอบอาชีพ ดูแลกิจวัตรประจําวันได้
maintenance phase
คงไว้ซึ่งแรงจูงใจ การร่วมมือในการรักษา
ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
พึ่งพาตนเองได้ และพึงพอใจในคุณภาพชีวิต
การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเชิงบําบัดกับผู้ป่วย อย่างสม่ำเสมอ และเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก
ไม่คล้อยตามกับอาการประสาทหลอน/อาการหลงผิดของผู้ป่วย (จะส่งเสริมให้มีอาการมากขึ้น)
การพยาบาลผู้ที่มี hallucination
แสดงออกด้วยลักษณะที่ไม่คุกคาม สบตา และให้ข้อมูลย้อนกลับท่ีผู้ป่วยทําให้ความสนใจกับการสนทนา
กรณีเสี่ยงต่อความปลอดภัยต้องมีมาตรการความปลอดภัยที่เหมาะสม
เช่น การดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด แบบ 1 ต่อ 1
จกกัดพฤติกรรมผู้ป่วยท่ี อาจทําร้ายผู้อื่น
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมรุนแรง
ป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยและผู้อื่นได้รับอันตราย
เพิ่มการดูแลลและเฝ้าระวัง ลดสิ่งเร้า
ปรับความคิดและพฤติกรรม ลดการพูดถึงความตึงเครียด
ให้ยาตามแผนการรักษาเพื่อสงบอาการ
จํากัดพฤติกรรม เข้าห้องแยกและผูกยึดผู้ป่วยตามความจําเป็น
กระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกลุ่มกิจกรรม
ผู้ป่วย grandiosity จัดกิจกรรมให้มีความรับผิดชอบร่วมกับ ผู้อื่นมีบทบาทสําคัญเท่าๆ กัน
ผู้ป่วย persecutory delusion ใช้กลุ่มช่วยแก้ปัญ หาให้ข้อคิดเห็นท่ีจะทําให้เกิดความไว้วางใจกลุ่ม รู้สึกปลอดภัย และมั่นใจในสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว
การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา
ไม่ให้หยุดยาเอง, หลีกเลี่ยงการผสมยาลงในอาหาร การขู่บังคับให้รับประทานยา
ให้กำลังใจและความมั่นใจอาการข้างเคียงจะดีขึ้นหลังจากรับประทานยาสักระยะ
การประเมินผล
ประเด็นที่ควรประเมินผลการปฏบัติการพยาบาลในผู้ป่วยจิตเภท
การจัดการกับความคิดหลงผิด /ภาวะประสาทหลอน,ระดับความวิตกกังวล,ความกระวนกระวาย
ยาที่ได้รับและอาการข้างเคียงของยา,การดูแลตนเอง การทํากิตกรรมต่างๆในชีวิตประจําวัน
ข้อมูลเกี่ยวกับครอบครัว /ผู้ดูแลผู้ป่วย แหล่งช่วยเหลือ ที่พักอาศัย,การจัดการด้านสขุภาพ
การวางแผนการจําหน่ายผู้ป่วยจิตเภท
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับสาเหตุ ยา อาการ ข้างเคียงของยา วิธีการเผชิญปัญหา สิ่งที่คาดหวัง และการ ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
สนับสนุนให้เข้าร่วมกิจกรรมบําบัด และสามารถระบุแหล่งช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องในการจัดการกับการเจ็บป่วยได้
สนับสนุนและดูแลติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่องในชุมชน ตามสภาพความเป็นจริง
การดูแลต่อเนื่องในชุมชน
บริการเพื่อการบําบัดโดยมีชุมชนเป็นฐาน
โดยทําจิตบําบัดแบบกลุ่มและแบบรายบุคคล กิจกรรมต่างๆและการฝึกต่างๆ
ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกบั แหล่งช่วยเหลือในชุมชน