Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
การประเมินภาวะสุขภาพผู้ป่วย้
1.การซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน อาการสําคัญ
การตรวจร่างกาย
1.การประเมินสัญญาณชีพ (Vital signs)
การตรวจสภาพร่างกายทั่วไป
การตรวจตามระบบต่างๆ
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอาศัยผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น เลือด ปัสสาวะ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติบุคคลและครอบครัว
5.แบบแผนสุขภาพที่เกี่ยวข้อง
การพยาบาลผู้ป่วย
ภาวะ Aldosteronism และ ภาวะPheochromocytoma
Pituitary tumor, Diabetes insipidus, SIADH
Diabetes mellitus
Hyperthyroidism, Hypothyroidism, Thyroidectomy, Hyperparathyroidism Hypoparathyroidism,
Cushing’s syndrome, Addison disease, pheochromocytoma
ภาวะผิดปกติของต่อมใต้สมอง
1.1 เนื้องอกของต่อมใต้สมอง (Pituitary tumor หรือ Pituitary adenoma )
อาการและอาการแสดง แบ่งตามสาเหตุดังนี้ :
optic chiasm กดเสhประสาทตา ทําให้มองเห็นลดลงจนถึงตาบอดได้ อาการและอาการแสดง แบ่งตามสาเหตุดังนี้
การที่เนื้องอกกดเบียดอวัยวะข้างเคียง (Mass effect) หากเนื้องอกขนาดให่มักกดเบียด ประสาทตาทําใหการมองเห็นผิดปกติ หรืออาจทําให้เกิดภาวะความดันภายในกะโหลกศีรษะสูง
การพร่องฮอร์โมน (Hormonal insufficiency) เนื้องอกรบกวนการสร้างฮอร์โมนต่าง ๆ ของ ต่อมใต้สมอง ทําให้มีอาการและอาการแสดงจากการพร่องฮอร์โมนแต่ละชนิด
เนื้องอกสร้างฮอร์โมนมากเกินปกติ (Hormonal hypersecretion) ทําให้เกิดอาการและ
การประเมินภาวะสุขภาพ
การรักษาเนื้องอกของต่อมใต้สมอง
การผ่าตัด
การรักษาทางยา
รังสีรักษา (Radiation therapy)
อาการและอาการแสดง แบ่งตามสาเหตุดังนี้ :
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากมีความผิดปกติของสายตา
ให้การพยาบาลตามอาการ เช่น อาการปวดศีรษะ ตามองเห็นภาพซ้อน เป็นตน
ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและแนวทางการรักษา
หลังผ่าตัด Transcranial approach
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด: เลือดออก ความดันในกะโหลกศีรษะสูงติดเชื้อของสมอง การร่วมของ CSF
จัดท่านอนศรีษะสูง30องศา เลี่ยงสั่งนำ้มูก ไอ/ก้มตัว ท้องผูก
แนะนำให้หายใจทางปาก จะใส่nasal packing 2-5 วัน
ภาวะผิดปกติของต่อมใต้สมองส่วนหลัง: DI, SIADH
ภาวะเบาจืด (Diabetes insipidus, DI)
เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลน้ำได้ ผู้ป่วยมีอาการกระหายน้ำมาก ปัสสาวะบ่อย
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะมาก ประมาณ 5-20 ลิตรต่อวัน หรอืถ่ายปัสสาวะทุก ½ -1 ชั่วโมง
กระหายน้ำมาก ดื่มน้ำมาก อ่อนเพลีย กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฉุนเฉียวง่าย ปวดศีรษะ
ขาดน้ำ: ผิวหนังแห้ง น้ำหนักลด เบื่ออาหาร ท้องผูก
การประเมินภาวะสุขภาพ
การรักษา
ให้ vasopressin และ vasopressin tannate ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ หรือให้ lypressin โดยพ่นทางจมูก
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีภาวะขาดน้ำ/ เสี่ยงภาวะช็อกเนื่องจากปัสสาวะมาก
วัดสัญญาณชีพและประเมินภาวะขาดนำ้เช่น ริมฝีปากแห้งกระหายน้ำ ความยืดหยุ่นของผิวหนังลดลง นำ้หนักลด ความดันโลหิตลดลง และชีพจรเร็วขึ้น
มี/ เสี่ยงอันตรายจากภาวะไม่สมดุลของอิเลคโทรไลต์หรือกรดด่างเนื่องจากปัสสาวะมาก
บันทึกจํานวน ลักษณะ สี และวัดคาความถ่วงจําเพาะของปสสาวะทุก 1 ชั่วโมงเพื่อประเมินภาวะเบาจืด คือ ปัสสาวะสีใส
ภาวะ Syndrome of Inappropriate ADH Secretion (SIADH)
ภาวะที่มีการหลั่ง ADH ออกมากโดยไม่สมัพันธ์กับพลาสมาออสโมลาลิตี้และซีรั่มโซเดียมการดูดซึมน้ำกลับมากกว่าการขับออกทางปัสสาวะ
การวินิจฉัย SIADH
ค่า osmolality ในเลือด < 280 mOsm/kg และผู้ป่วยต้องไม่มี pseudohyponatremia
Inappropriate concentrated urine (โซเดียมในปัสสาวะ > 20 มิลลิโมล/ลิตร และosmolality ในปัสสาวะ > 100 mOsm/kg ในขณะที่มีosmolality ในปัสสาวะต่ำ)
การรักษา SIADH
การจำกัดน้ำ (Fluid restriction) วันละ 500-800 มิลลิลิตรหรือ ให้ได้รับน้ำเท่ากับ ปริมาณปัสสาวะและการเสียน้ำทางอื่น (insensible loss) ในผู้ที่มีเลือดออกใต้ชั้นเยื่อหุ้มสมอง (SAH) ต้องระวังเพราะภาวะขาดน้ำ ส่งผลให้อาการ vasospasm แย่ลง และเกิด cerebral infarction ได
สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ชนิด normal saline
รักษาสาเหตุของ SIADH เช่น โรคมะเร็ง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีภาวะนำ้เกินเนื่องจากการถ่ายปัสสาวะผิดปกติ
ประเมินภาวะนำ้เกิน ได่แก่ บันทึกสมดุลของสารน้ำ ชั่งน้ำหนักตัวผู้ป่วยทุกวัน
มี/ เสี่ยงอันตรายจากภาวะไม่สมดุลของอิเลคโทรไลต์เนื่องจากภาวะนำเกิน
ดูแลการได้รับ 3% NaCl IV ช้าๆ หากหอบเหนื่อย เสมหะเป็นฟอง ต้องรีบรายงานแพทย์
การพยาบาลผู้ป่วยโรคเบาหวาน (Diabetes mellitus)
เบาหวานเกิดจากตับอ่อนสร้างฮอร์โมนอินซูลิน ได้น้อยหรือไม่ได้เลย ฮอร์โมนชนิดนี้มีหน้าที่ช่วยให้ร่างกายเผาผลาญน้ำตาลให้เป็นพลังงาน เมื่ออินซูลินในร่างกายไม่พอหรือมีเพียงพอ แต่เนื่อเยื่อไม่ตอบสนองต่ออินสุลินจะทำให้น้ำตาลไมถูกนำไปใช่ เกิดการคั่งของน้ำตาลในเลือดและอวัยวะต่างๆ
ชนิดของเบาหวานแบ่งตามสาเหตุ มี 4 ชนิด
ชนิดที่ 1 (type I DM) เกิดจากการทำลายเบต้าเซลล์ที่ตับอ่อนจากภูมิคุมกันของร่างกาย โดย
ผ่านขบวนการ cellular mediated ส่วนใหญ่พบในคนอายุน้อย
ชนิดที่ 2 (type II DM) ผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่ (95%) เป็นชนิดที่ 2 เกิดจากภาวะดื้อต่ออินสุ
ลิน (insulin resistance) และมีความบกพร่องในการผลิตอินสุลิน (relative insulin deficiency)
เบาหวานจากการตั้งครรภ์ (gestational DM)
เบาหวานที่มีสาเหตุเฉพาะ (specific DM) เช่นมีความผิดปกติทางพันธุกรรม
อาการแสดงของโรคเบาหวาน
1) ถ่ายปัสสาวะจำนวนมาก (polyuria)
2) ดื่มน้ำมาก (polydipsia)
3) น้ำหนักลด (weight loss)
ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดขนาดใหญ่
หลอดเลือดตีบแข็ง เกิดเนื่องจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูงนาน
ภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดขนาดเล็ก
ภาวะแทรกซ้อนทางตา (diabetic retinopathy, DR) มักพบมีจอตา (retina)
ภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาท (diabetic neuropathy)
เกิดขึ้นเมื่อระดับน้ำตาลในเลือดสูงอยู่นานมีผลทำให้เกิดการเสื่อมของระบบประสาทส่วนปลาย
ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน
เกิดขึ้นอย่างรวดเรว็และรุนแรง หากไม่ได้รับการช่วยเหลือจะมีอันตรายถึงชีวิตได้
การประเมินภาวะสุขภาพผู้ป่วย
การวินิจฉัยโรคเบาหวาน
ผู้ที่มีอาการชัดคือ หิวบ่อย ปัสสาวะบ่อยและมาก นำ้หนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ สามารถตรวจ
พลาสมากลูโคสโดยไม่ต้องอดอาหาร หาก 200 มก./ ดล. ให้วินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน
ผลตรวจพลาสมากลูโคสเมื่ออดอาหาร 8 ชั่วโมง (Fasting plasma glucose, FPG) มีค่า 126 มก./
การตรวจความทนต่อกลูโคส 35 กรัม (Oral glucose tolerance test, OGTT) ค่าหลังตรวจ 2 ชั่วโมง
ค่า A1C 6.5% หรือมากกว่า (ค่าปกติ < 5.3%)
ภาวะเสี่ยงเบาหวาน
1) Impaired fasting glucose (100-125 มก./ ดล.)หรือ 2) Impaired glucose tolerance (140-199 มก./ ดล.) หรือ 3) ค่า A1C 5.3- 6.4 % ถือว่า ถือว่ามีความเสี่ยงในการเป็นเบาหวาน ควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเฝ้าระวังโรค
การตรวจคัดกรองโรค
1) อายุ 35 ปีขึ้นไป พบว่าอายุที่มากขึ้นมีโอกาสเป็นโรคเบาหวานมากขึ้น
2) ความอ้วน (BMI >=25 กก./ม.2และ/หรือรอบเอวเกินมาตรฐาน*)
การรักษาเบาหวาน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Lifestyle modification)
การใช้ยาควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
การสูบบุหรี่
แนะนำให้หยุดสูบบุหรี่ รวมยาสูบรูปแบบอื่นหรือบุหรี่ไฟฟ้า
การมาตรวจตามนัด
การมาตรวจตามนัด เพื่อให้แพทย์ตรวจร่างกาย ติดตามผลการรักษาและประเมินสภาพของโรค
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการดำเนนิของโรคและการรักษา
ประเมินความรู้ ความเข้าใจของผู้ป่วย เกี่ยวกับโรคและการดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเร้อืรัง เนื่องจากขาดความรู้ในการควบคุมโรคเบาหวาน
แนะนำ อธิบายถึงความสำคัญในการควบคุมระดับน้ำตาลในเรื่องและ ให้คำแนะนำ การปฏิบัติตนสำหรับผป่วยเบาหวานในเรื่องการควบคุมอาหาร การออกกำลังกายการใช้ยาอย่างต่อเนื่องและการติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันในผู้ป่วยเบาหวาน
1) ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (hypoglycemia)
สาเหตุ
การได้รับอินซูลินหรือยามากเกินไป การได้รับยากลุ่ม sulfonylurea, glinide
อาการและอาการแสดง
อาการแสดงของระบบประสาทอัตโนมัติเป็นอาการเตือน ถ้าเกิดเวลากลางวัน จะมีอาการ ใจสั่น
การรักษา
ผู้ป่วยตื่นและรู้สึกตัวดี ให้กินน้ำหวานหรืออาหารที่มีน้ำตาล 15 กรัม
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว/ ไม่สามารถกินได้ ให้ 50% glucose IV ให้อย่างเร็ว 10-20มล
ข้อวินจิฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการทำลายเนื้อเยื่อสมอง เนื่องจากได้รับมีน้ำตาลในเลือดต่ำ
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
ได้แก่ Diabetic ketoacidosis (DKA) และ Hyperglycemic Hyperosmolar Nonketotic Syndrome (HHNS)
ภาวะผิดปกติของต่อม Thyroid
หน้าที่หลักของต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมนี้หลั่งฮอร์โมนแคลซิโตนินซึ่งมีผลต่อเมตาบอลิซึมของแคลเซียม และฮอร์โมนไทรอยด์ซึ่งเกี่ยวของกับการเผาผลาญและมีผลต่อต่อมไร้ท่อ
ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์
การติดเชื้อ มะเร็งหรือการขาดสารไอโอดีน ทำให้เกิดภาวะHyperthyroidism หรือ Hypothyroidism
การประเมินภาวะสุขภาพผู้ป่วย
ภาวะ Hyperthyroidism
สาเหตุ
1) มีการกระตุ้น TSH receptor มากผิดปกติ
2) มีการเปลี่ยนแปลงเนื้อเยื่อต่อมไทรอยด์บางแห่งเช่น toxic adenoma,
อาการและอาการแสดง
ระบบทั่วไปและผิวหนัง: น้ำหนักตัวลดลง, เหงื่อออกมาก
ระบบหัวใจและหลอดเลือด: เหนื่อยง่าย, ใจสั่น
ระบบทางเดินหายใจ: เหนื่อยง่าย หายใจไม่สุด
ระบบประสาทและกล้ามเนื้อ: อารมณ์เปลี่ยนแปลง หงุดหงิด ตื่นเต้น
ระบบทางเดินอาหาร: หิวบ่อย กินจุ ถ่ายอุจจาระบ่อย
ระบบสืบพนัธุ์: ระจำเดือนน้อยลงหรือขาดประจำเดือน
เมตะบอลิสมของกระดูก: กระบวนการสร้างกระดูก (Bone Formation)
การประเมินภาวะสุขภาพ
การรักษา
รับประทานยา ระยะยาว: ในผู้ที่อายุน้อยอาการไม่มาก, ต่อมไม่โตมาก,เป็นมาไม่นาน
การรักษาโดยการผ่าตัด: ในที่อายุน้อย, ต่อมโตมาก, อาการอยู่ในขั้นปานกลางถึงรุนแรง
การรักษาโดยให้radioactive iodine: ในวัยกลางคน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ขาดน้ำเนื่องจากสูญเสียไปทางปัสสาวะและเหงื่อ
ติดตามสัญญาณชีพโดยเฉพาะ BP, P, R และเสียงหายใจ ประเมินอาการบวมของเนื้อเยื่อส่วนปลาย การโป่งของเส้นเลือด jugular vein เนื่องจากการมี ไทรอยด์ฮอร์โมน เพิ่มขึ้นทำให้มีการเผาผลาญเพิ่มขึ้น และความต้องการใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้นซึ่งอาจเกิด Hypertension,
arrhythmia, congestive heart failure ได้
พร่องความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองก่อนกลืนแร่
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีไอโอดีนสูง ได้แก่ อาหารทะเล เกลืออนามัย น้ำปลา ซี้อิ้ว นม ชีส ไข่แดง และอาหารหมักดอง อาจใช้เกลือแทนเกลืออนามัยและน้ำปลา อย่างน้อย 3 วัน
ภาวะ Hypothyroidism
สาเหตุ
autoimmune thyroiditis หรือเรียกว่า Hashimoto’s disease
2.จากสารหรือยาบางชนิด ได้แก่ lithium, iodine compound, amiodarone
ได้รับสาร iodine ไม่เพียงพอ
ภาวะแทรกซ้อน
Myxedema coma เป็นภาวะที่เกิดกับผู้ที่เป็น hypothyroidism นาน โดยไม่ได้รับการรักษา
การประเมินภาวะสุขภาพ
การรักษา
ไม่ใช้ยา ลดภาวะเครยีด เพิ่มอาหารไฟเบอร์
ใช้ยา ได้แก่ ยาไทรอยด์ฮอร์โมน levothyroxine (T4)
การผ่าตัด เมื่อก่อนไทรอยดืมีขนาดใหญ่ขึ้น
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-มีภาวะไม่สมดุลทางโภชนาการเนื่องจากได้รับสารอาหารเกินความต้องการของร่างกาย/ นำ้หนักตัวเพิ่มเนื่องจากมีการเผาผลาญของร่างกายลดลง
แนะนำให้รับประทานอาหารกากใยมาก ดื่มน้ำวันละ 2 ลิตรอาหารกากใย เพื่อให้อุจจาระอ่อนตัวและกระตุ้นการเคลื่อนไหวของลำไส้และกระตุ้นให้ทำกิจกรรม
ติดตามสัญญาณชีพโดยเฉพาะ BP, P,R และเสียงหายใจ
การผ่าตัด Thyroidectomy
มะเร็งไทรอยด์หรือคอพอกขนาดใหญ่ที่รักษาด้วยยาไม่ได้ผล อาจต้องได้รับการผ้าตัดต่อมไทรอยด์ ผู้ป่วยควรได้รับการเตรียมร่างกายและจิตใจให้พร้อมก่อนผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับโรค การรักษาและวิธีการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัดต่อมไทรอยด์
ประเมินการรับรู้ของผู้ป่วยเกี่ยวกับโรค การรักษาและอธิบายเกี่ยวกับโรค การรักษา วิธีการปฏบิัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด เช่น การออกกำลังกาย การไอ การหายใจที่ถูกต้อง การหมุนคอหลังผ่าตัด การพยายามช่วยเหลือตนเองหลังผ่าตัด รวมทั้งสภาพหลังผ่า ตัดของผู้ป่วย
การพยาบาลหลังผ่าตัด
-เสี่ยงต่อการเกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจจากเลือดออกบริเวณที่ผ่าตัด การบวมของฝาปดกล่องเสียง เส้นประสาท laryngeal กล่องเสียง เส้นประสาท laryngeal
-ตรวจวัดสัญญาณชีพและติดตามค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในหลอดเลือดแดงปลายนิ้วทุก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้ง ทุก 1 ชั่วโมง จนคงที่แล้ววัดทุก 4 ชั่วโมง
ภาวะผิดปกติต่อม Parathyroid
ภาวะ Hyperparathyroidism
ภาวะที่มีการหลั่ง paratyroid hormone (PTH) มาก
ภาวะแทรกซ้อนของ Hyperparathyroidism
Hypercalcemic crisis เมื่อ serum calcium>15 mg/d
การประเมินภาวะสุขภาพ
การรักษา ให้อาหารแคลเซียมต่ำ วิตามมินดีต่ำ ดื่มน้ำ 2-3 ลิตร/วัน ให้ฟอสเฟตเพิ่ม
การพยาบาล
1.เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ การหักของกระดูกจากการมีแร่ธาตในกระดูกลดลง 2.มีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากคลื่นไส้ อาเจียน
ดูแลให้ได้รับน้ำ มากกว่า 2 ลิตร/วัน ,ผลไม่รสเปรี้ยว ป้องกันการเกิดนิ่วในไต
ประเมิน neuro sign ความรู้สึกตัว /ระวังอุบัตเิหตุ/ดูแลการทำกิจกรรม
ภาวะ Hypoparathyroidism
การพร่อง PTH มักเกิดหลังผ่าตัดต่อมไทรอยด์ หรือภายหลังการฉายแสงที่ลำคอ
การประเมินภาวะสุขภาพ
การรักษา
ไม่ใช้ยา ให้รับประทานอาหารที่แคลเซียมสูง
ใช้ยาวิตามินดี ช่วยดูดซึมแคลเซียม
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการชักจากแคลเซียมในเลือดต่ำ/การเกิดอุบัติเหตุจากการหดเกร็งกล้ามเนื้อจากแคลเซียมในเลือดต่ำ
ติดตาม V/S ,reflex ,EKG , ชัก ดูแลการได้รับยาเพิ่มแคลเซียม
-เตรียมอุปกรณ์ intubation , tracheostomy ,Ca carbomate IV
แนะนำเรื่องอาหารและการรับประทานยา
ภาวะผิดปกติของต่อมหมวกไต (Adrenal gland)
ความผิดปกติของต่อมหมวกไตส่วนนอกคือ ภาวะ Cushing’s syndrome จากการมีคอร์ติซอล
เกิน ภาวะ adrenal insufficiency จากการขาดคอร์ติซอล
กลุ่มอาการคุชชิ่ง (Cushing’s syndrome)
สาเหตุ 2 กลุ่ม ได้แก่
1) ร่างกายได้รับ glucocorticoid
2) ร่างกายสร้าง glucocorticoid มากเกินปกติ
ภาวะแทรกซ้อน
hyperglycemia , hypernatremia , hypertension
การประเมินภาวะสุขภาพ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะนำ้เกิน
ชั่งน้ำหนักทุกวนั วัด, V/S โดยเฉพาะ BP,P,R , ประเมินอาการบวมของอวัยวะส่วนปลาย
ภาวะต่อมหมวกไตบกพร่อง (Adrenal insufficiency, AI)
ภาวะนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1.) ต่อมหมวกไตบกพร่องแบบปฐมภูมิ (Primary AI)
2.) ต่อมหมวกไตบกพร่องแบบทุติยภูมิ (Secondary AI)
ภาวะแทรกซ้อนของภาวะ AI คือ ภาวะวิกฤติที่เรียกว่า Addison’s crisis/Addisonian crisis
การประเมินภาวะสุขภาพ
การรักษา Adrenal insufficiency
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
หัวใจเต้นผิดจังหวะ/ อาจได้รับอันตรายจากภาวะ Hyperkalemia
ดูแลให้ได้ยาลด K , จำกัด K, สังเกตภาวะ hyperkalemia ได้แก่ heart block , peak T
อาจได้รับอันตรายจากภาวะ hypoglycemia
ประเมินความรู้สึกตัว จัดสิ่งแวดล้อม เฝ้าระวังอุบัติเหตุ บันทึกสารนำ้เข้าออก ดูแลการได้รับสารนำ้ทดแทน