Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Schizophrenia Spectrum - Coggle Diagram
Schizophrenia Spectrum
Spectrum ของโรคจิตเภท
Delusional disorder
Schizotypal Personality disorder
Schizoid Personality disorder
Paraniod Personality disorder
ความผิดปกติของความคิด อารมณ์การรับรู้ และพฤติกรรมอย่างน้อย 6เดือน
ไม่มีสาเหตุจากโรคทางกาย ยาหรือสารเสพติด และส่งผลกระทบต่อปัญหาด้านสังคม การงาน หรือสุขอนามัยของผู้ป่วย
อุบัติการณ์
ความชุกตลอดชีพพบร้อยละ 1
เริ่มมีอาการวัยรุ่นตอนปลายถึงวัยผู้ใหญ่ตอนต้น (ชาย 10-25 ปี
หญงิ 25-35 ปี)
พบทุกเชื้อชาติในอัตราที่ใกล้เคียงกัน เพศหญิงและเพศชายเท่ากัน
ผลลัพธ์ด้านการรักษาในเพศหญิงดีกว่าเพศชาย
สาเหตุ
ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
พันธุกรรม ภาวะแทรกซ้อนขณะคลอด (ประวัติ hypoxia)
dopaminergic hyperactivity และความ
ไม่สมดุลของ serotonin และ dopamine
มี ventricle โตกว่าปกติ มี limbic system เล็กลง
ปัจจัยทางด้านครอบครัวและสังคม
high expressed-emotion : high EE
ผู้ที่มีอาการโรคจิตอยู่เรื่อย ๆ การดํารงชีพไม่สามารถคงอยู่ได้
ผู้ป่วยมีจุดอ่อนบางอย่างอยู่แล้ว เมื่อพบกับสภาพ
กดดัน
ลักษณะอาการทางคลินิก
Positive Symptoms
Delusion โดยเฉพาะ bizarre delusion และกลุ่มอาการหลักของ Schneider
Hallucination โดยเฉพาะ Auditory Hallucination
Disorganized behavior พฤติกรรมที่ผิดไปจากปกติอยางมาก
Disorganized speech ไม่สามารถรวบรวมความคิดให้เป็นไปในทางเดียวกัน
Negative Symptoms
Alogia พูดน้อย ใช้เวลานานกว่าจะตอบ
Affective flattening การแสดงออกทางด้านอารมณ์ลดลง
Avolition ขาดความกระตือรือร้น เฉื่อยชา
Asociality เก็บตัว ไม่ค่อยแสดงออก
Cognitive change สมาธิแย่ลง
ไมสบายใจ depression หมดกำลังใจ
suicide ผู้ป่วย ร้อยละ 50 พยายามฆ่าตัวตาย
เกณฑ์การวินิจฉัยโรคจิตเภทตาม DSM 5
delusion
hallucination
disorganized speech 4. disorganized behavior 5. negative symptom
การจําแนกกลุ่มย่อย ตาม DSM-IV และ ICD 10
Paranoid type มีหมกมุ่นอยู่กับอาการหลงผิด
Disorganized or Hebephrenic type ความคิดกระจัดกระจาย
Catatonic type
Undifferentiated type มีอาการเข้ากันได้กับโรคจิตเภท
Residual type เคยป่วยมีอาการกําเริบ
การดําเนินโรค
ระยะก่อนป่วย (Premorbid phase)
มคี วามบกพรองทางสังคม การเคลื่อนไหว ความคิดเล็กน้อย
อาจพบลักษณะทางร่างกายต่างไปจากปกติ
ระยะเริ่มมีอาการ (prodromal phase)
ช่วงแรกจะวิตกกังวลซึมเศร้า
ตามมาด้วยอาการทางลบ
เริ่มมีอาการทางบวกแบบน้อยๆ
ระยะอาการกําเริบ (active phase)
อาการตามเกณฑ์การวินิจฉัยข้อ A.
หลังรักษา 6 เดือน อาการทางบวกและอาการทางลบเริ่มทุเลา
อาการจะกำเริบภายใน 5 ปีแรก
ระยะอาการหลงเหลือ (chronic/residual phase)
โรค ระดับอาการ ความสามารถในการทําหน้าที่จะคงที่
อาการของโรคจิตจะค่อยๆ ลดลงตามอายุ
อาการทางลบจะยังคงอยู่ในระดับคงที่ตลอดการเจ็บป่วย
การรักษา
การรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล
ความเครียดที่มีในผ้ปู่วยและครอบครัว
อยู่ในโรงพยาบาลโดยเฉลี่ยประมาณ 3-6 สัปดาห์
การรักษาด้วยยา
Acute treatment เพื่อควบคุมอาการให้สงบ
Maintenance treatment หลังจากอาการสงบลงต้องได้รับยาต่อเนื่อง