Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acute diarrhea, sepsis เตียง 8 : - Coggle Diagram
Acute diarrhea, sepsis เตียง 8 :
ความหมาย
ท้องเสียเฉียบพลัน เป็นโรคที่พบได้บ่อยในเวชปฏิบัติ พบได้ทุกเพศทุกวัยการถ่ายอุจจาระเหลวหรือเป็นน้ำตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไปใน 24 ชั่วโมงหรือถ่ายเป็นมูกเลือด 1 ครั้งขึ้นไปใน 24 ชั่วโมงาการท้องเสียเฉียบพลันซึ่งอาการท้องเสียจะเกิดขึ้นระยะเวลาไม่เกิน 2 สัปดาห์ หากปล่อยให้เกิดอาการท้องเสียโดยที่ไม่ได้รับการรักษา อาจทำให้ผู้ป่วยสูญเสียเกลือแร่ สารน้ำ และช็อค ซึ่งทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ตามมาได้
-
พยาธิสภาพ
ทฤษฎี
เยื่อบุลำไส้สร้างสารน้ำมากเกินความสามารถในการดูดซึมกลับ มักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย มีการอักเสบของลำไส้ ทางเดินอาหารมีการเคลื่อนไหวมากผิดปกติทำให้อาหารและน้ำผ่านลำไส้เร็วเกินไปและถูกดูดซึมกลับไม่ทัน ลำไส้มีการบีบเกร็งทำให้มีอาการปวดและมีอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วย มีอาการท้องร่วงซึ่งทำให้ร่างกายขาดน้ำและเกลือแร่ ปริมาณน้ำในร่างกายลดลง
-
อาการและอาการแสดง
ทฤษฎี
ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการอุจจาระร่วงก่อน ซึ่งเป็นรุนแรงหรือเด่นชัดกว่าอาการอื่น ต่อมาจึงตามด้วยอาการอื่นๆ เช่น อาเจียน ปวดท้อง มีไข้ โดยสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยได้ ดังนี้
-
-
-
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ: กินแกงไก่ที่ลูกกินเหลือไปและทำอาชีพเก็บของเก่าขายรับประทานอาหารไม่ชอบล้างมือเป็นผู้สูงอายุไปตรวจร่างกายที่อนามัยเป็นประจำและได้ยาบำรุงเลือดเม็ดสีแดง มีประวัติกินยาชุด ถ่ายเหลวปริมาณมาก 2 ครั้ง อาเจียนไม่ถึงครึ่งแก้ว
-
-
การรักษาและการพยาบาล
ทฤษฎี
การรักษาแบบจำเพาะเจาะจง (Specific treatment) ขึ้นอยู่กับเชื้อที่ตรวจเจอและให้ในผู้ป่วยบางกลุ่มเท่านั้น เช่น หากตรวจเจอเชื้อแบคทีเรีย จะให้ยาปฏิชีวนะตามชนิดของเชื้อแบคทีเรีย หากเจอพยาธิ ให้ยาฆ่าพยาธิ เป็นต้น
การรักษาตามอาการ (Supportive treatment) ได้แก่ การแก้ไขภาวะขาดน้ำและเกลือแร่ คือ การให้น้ำเกลือในรูปแบบของการดื่ม (ORS) หรือ การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำหากมีการสูญเสียสารน้ำในปริมาณที่มาก, การให้ยาลดอาการท้องเสีย ในผู้ป่วยบางราย, การให้ยาลดอาการปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียนหรือยาลดไข้ เป็นต้น
-
ภาวะแทรกซ้อน
ทฤษฎี
อาการท้องเสียอาจทำให้เกิดภาวะร่างกายขาดสารน้ำ ซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษา ภาวะขาดสารน้ำเป็นอันตรายอย่างยิ่งในเด็ก ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ หากผู้ที่ท้องเสีย มีสัญญาณของภาวะขาดสารน้ำอย่างรุนแรง
ภาวะช็อกจากการขาดสูญเสียสารน้ำหรือเลือด (Hypovolemic shock) เช่น การสูญเสียสารน้ำจาก การอาเจียน ถ่ายเหลว การสูญเสียเลือดจากการประสบอุบัติเหตุ :
-
-
-
-