Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติทางจิตใจในระยะหลังคลอด - Coggle Diagram
ความผิดปกติทางจิตใจในระยะหลังคลอด
ความหมาย
มารดาในระยะหลังคลอดต้องปรับตัว ทั้งด้านการฟื้นฟูสภาพร่างกายจากการคลอด บทบาทของการเป็นมารดาการเป็นแม่บ้าน ซึ่งผลลัพธ์ของกระบวนการนี้
มีผลต่อสุขภาพจิตของมารดาและครอบครัว
ภาวะเศร้าหลังคลอด
อาการ
อ่อนเพลีย วิตกกังวล อารมณ์แปรปรวนขึ้นๆ ลงๆ เปลี่ยนแปลงง่าย หงุดหงิด ร้องไห้ง่าย เศร้าง่าย เซื่องซึมง่าย
รู้สึกเศร้า หดหู่ เซื่องซึม วิตกกังวล
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย หงุดหงิด โมโห
อาการรุนแรง
หวาดระแวง ประสาทหลอน เช่น หูแว่ว อารมณ์ก้าวร้าวรุนแรง ซึมเศร้า
สาเหตุ
ความเครียดทางร่างกาย
ระดับฮอร์โมน เอสโตรเจน โปรเจสเทอโรน ในระยะหลังคลอดจะลดต่ำลงทันที
ความเครียดด้านจิตใจ
การเป็นหม้าย วิตกกังวล กลัวบุตรพิการ เจ็บป่วยทางจิตใจ
ความเครียดทางด้านสังคม
สตรีวัยรุ่นต้องพักการเรียน ความไม่พร้อมในการตั้งครรภ์ มีรายได้น้อย
โรคจิตหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
อาการนำ ที่พบบ่อยคือ นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย ผุดลุกผุดนั่ง หงุดหงิด วิตกกังวลอย่างมาก
อาการโรคจิต คือ อาจมีอารมณ์ซึมเศร้า อารมณ์จะเปลี่ยนแปลงเร็วมาก
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
เคยมีประวัติโรคจิตหลังคลอด
มีประวัติเป็น bipolar
มีบุคลิกภาพแปรปรวนอยู่ก่อนแล้ว
มีความเครียดขณะตั้งครรภ์
การพยาบาล
การประเมินภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับมารดาหลังคลอด เช่น การเข้าอู่ของมดลูก แผลฝีเย็บ
การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอดและทารก
ประเมินทักษะความสามารถในการดู
แลทารก การอุ้ม การจับเรอ การอาบน้ำเด็ก
การประเมินภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับทารก ประเมินการเจริญเติบโต
แนวทางการรักษา
การรักโดยไม่ใช้ยา
การรักษาด้วยไฟฟ้า
การทำจิตบำบัด
การปรับพฤติกรรมด้วยความคิด
การแก้ปัญหาด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
การรักษาโดยการแก้ไขสิ่งแวดล้อม
การรักษาโดยใช้ยา
1.ยากลุ่ม SSRIs เป็นยาที่มีผลต่อระดับ serotoninในสมอง
เช่น Fluoxetine, Sertraline
ยากลุ่ม SNRIs และ NDRIs
เช่น Bupropion, Mirtazapine
3.ยากลุ่ม TCAs ใช้กรณีที่มีอาการรุนแรง
เช่น amitriptyline, clomipramine, nortriptyline