Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด
การประเมินภาวะสุขภาพผู้ใหญ่ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การซักประวัติ
1.3 ภาวะเขียว (Cyanosis)
ภาวะเขียวจะพบเมื่อค่า arterial oxygen saturation <85% หรือ absolute level of deoxyhemoglobin ใน capillary bed > 5 g/dl
1.4. หมดสติชั่วคราวหรือเป็นลม (Syncope)
เกิดจากการมีปริมาณ เลือดไหลเวียนในสมองลดลง จากการมีความดันโลหิตลดลง
1.2. เจ็บหน้าอกหรือเจ็บอก (Chest pain or discomfort)
เกิดจากหลายสาเหตุทั้งระบบหัวใจและหลอดเลือดเช่น กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ลิ้นหัวใจตบี ระบบทางเดินหายใจเช่น ลิ่มเลือดในปอด ปอดอักเสบ
1.5. ใจสั่น (Palpitation)
รู้สึกเหมือนสั่นสะเทือนในทรวงอก อาจอึดอัดหรือเจ็บหน้าอกร่วมด้วย
ผู้ป่วยอาจ ให้ประวัติ หัวใจเต้นแรง หัวใจเต้นเหมือนจะออกนอกทรวงอก หัวใจเต้นเร็ว เหมือนกําลังวิ่งแข่ง หรือ เต้นไม่สม่ำเสมอ
1.1 หายใจลําบากหรือเหนื่อยหอบ (Dyspnea)
ผู้ป่วยรู้สึกถึงความไม่สบายหรือมีการหายใจลําบาก หายใจไม่พอ หายใจไม่อิ่มหายใจไม่สุดหายใจแน่นเหนื่อยหอบหิวอากาศ
1.6. บวม (Edema)
อาการบวมเฉพาะที่(localized edema)
พบได้บ่อยในส่วนขา
การตรวจร่างกาย ( Physical examination)
ผิวหนัง
cyanosis
ความตึงตัวของผิวหนัง
ดูสีผิว
ศีรษะและใบหน้า
ใบหน้าบวมใน Myxedema มีการเผาผลาญต่ำและหัวใจเต้นช้า ตาโปน
สภาพทั่วไป
ประเมินภาวะสุขภาพโดยรวม ความสมบูรณ์ของร่างกาย
ช่องท้อง
ไต มีขนาดใหญ่
มักพบในผู้ป่วยแรงดันเลือดสูงจาก Polycystic disease
ท้องอาจพบก้อน
บริเวณ ช่องท้องต่ำกว่าสะดือ
ตับโตและกดเจ็บ
เนื่องจากมี venous congestion ในภาวะหัวใจล้มเหลว
แขนและขา
Capillary refill time
อาการบวม
กดบริเวณขา (pretibial region) ทั้ง 2 ข้าง 10-20 วินาที
พบได้บ่อยในผู้ป่วย
congestive heart failure
นิ้วปุ้ม
เนื้อเยื่อส่วนปลายได้รับออกซิเจนน้อยเป็นเวลานานทําให้เนื้อเยื่อมีการขยายตัว
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การคลํา
อาศัยการสั่นสะเทือนจากภายใน ทรวงอกมาสู่ผนังทรวงอกด้านนอก
การเคาะ
ตรวจหาขอบเขตและขนาดของหัวใจ ช่วยประเมินภาวะหัวใจโต
การดู
ทรวงอก: การหายใจ ดูความถี่ สม่ำเสมอ ความลึก
การฟัง
ฟังเสียงหัวใจปกติ (Heart sounds) จะได้ยิน 2 เสียงคือ S1 S2
แต่เสียง S3 และ S4 จะได้ยินในภาวะผิดปกติ
การตรวจพิเศษ
การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะวิ่งสายพาน
ทดสอบการทํางานของหัวใจจากคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะที่หัวใจทํางานมากขึ้น
การบันทึกติดตามการทํางานคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การติดเครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24 ชั่วโมง
1.EKG
ตรวจการทํางานกล้ามเนื้อหัวใจ
การทดสอบการเป็นลมหมดสติด้วยเครื่องปรับระดับ
เปลี่ยนระดับเตยีงจากนอนราบเป็นสูง70-80องศานาน15-20นาทีใช้ทดสอบ
ผู้ที่เป็นลมโดยไม่ทราบสาเหตุ
การตรวจทางภาพรังสี (Imaging)
Chest X-ray
การประเมินอวัยวะในทรวงอกทั้งปอด หัวใจ หลอดเลือด
อัลตราซาวน์หัวใจ (Echocardiogram)
ดูภาพการทํางานของหัวใจ
Cardiac MRI
การตรวจที่ให้ภาพของหัวใจและหลอดเลือดได้อย่างชัดเจน
การตรวจสวนหัวใจหรือฉีดสีดูหลอดเลือดหัวใจ
ใช้สายสวนขนาดเล็กใส่เข้าไปตามหลอดเลือดแดงโคโรนารีเพื่อตรวจการตีบแคบหรือตัน
การตรวจระบบไฟฟ้าในหัวใจ
ตรวจหาความผิดปกติในการนําไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจหลอดเลือดที่คอ
ตรวจโดยใช้คลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงดูการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง
การตรวจวัดความแข็งตัวของหลอดเลือด
ตรวจหาร่องรอยการตีบ แข็งตัวหรือไม่ยืดหยุ่นของหลอดเลือดแดงส่วนปลายที่ขา
3.กระบวนการพยาบาลผู้ป่วยที่มีโรคหรือผิดปกตขิองหลอดเลือดดํา
3.1 ภาวะลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดดําลึกส่วนปลายหรือลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดํา (Deep vein thrombosis, DVT)
อาการ
1.calf vein thrombosis
ปวดร้อนที่น่อง บวมบริเวณข้อเท้า ไข้ต่ำๆ
iliofemoral thrombosis
ปวดทั่วทั้งขา มีบวมแบบ Pitting edema
การประเมินภาวะสุขภาพ
การตรวจร่างกาย
ปวดข้อเท้า น่อง กระจายไปทั่วทั้งขา มีบวมกดบุ๋มซึ่งกระจายไปเหนือเข่า
3 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจ coagulogram
การตรวจการทํางานของตับ ไต
การตรวจ CBC
1.การซักประวัติ
อาการสําคัญเช่น อาการปวด บวม มีประวัติเคยเป็นมาก่อน
การรักษา
ให้สารน้ําอย่างเพียงพอ
ให้ผู้ป่วยนอนพัก
รักษาโรคที่เป็นสาเหตุ
ให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด (Anticoagulants)
ผลข้างเคียงของการให้การรักษาด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือด
ภาวะเลือดออกง่าย โดยเฉพาะทางเดินอาหาร
ภาวะเกร็ดเลือดต่ำจากการได้รับ heparin
3.2 ภาวะเส้นเลือดขอด (Varicose vein)
เป็นความผิดปกติของหลอดเลือดดําบริเวณใต้ผิวหนัง (Superficial Vein) เนื่องจากลิ้นที่กั้นใน หลอดเลือดดําเสียหน้าที่ ทําให้ไม่สามารถไล่เลือดดํากลับสู่หัวใจได้ เกิดการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดํา ทําให้หลอดเลือดดําขยายตัวกว้างขึ้น ยาวขึ้นและคดเคี้ยว
สาเหตุ
Primary varicose vein
การรั่วของลิ้นที่สกัดกั้นการไหลย้อนกลับของ เลือดจาก superficial system สู่ deep system
Secondary varicose vein
เกิดตามหลังภาวะลิ่มเลือดอุดตัน (DVT)
อาการ
ปวดขา
บวม
ตะคริว
การประเมินภาวะสุขภาพ
1.การซักประวัติ
อาการที่เกิดขึ้นครั้งแรก อาชีพ การตั้งครรภ์ ประวัติเจ็บป่วยในอดีต
การตรวจร่างกาย
หลอดเลือดดําขอดที่ผิวหนัง มีผิวหนังสีเข้มขึ้นและบวมที่บริเวณหน้าแข้ง ในท่ายืน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การฉีดสีเข้าทางหลอดเลือดดํา (Venography)
การรักษา
นอนให้ยกขาสูงกว่าลําตัวเล็กน้อย และใช้ถุงน่องรัดที่ขาเวลาเดินหรือยืน
การผ่าตัด การทํา venous stripping และ vein avulsion
3.3 ภาวะหลอดเลือดดําอักเสบ (Thrombophlebitis)
การอักเสบของผนังหลอดเลือดดําร่วมกับการมีลิ่มเลือดเกาะผนังด้านในของหลอดเลือด มักเกิด ภายหลังการอักเสบของหลอดเลือดดํา
อาการ
ปวด บวม แดง
ปวดน่องเวลากระดกปลายเท้าขึ้น
หลอดเลือดดําเป็นลําแข็ง บริเวณส่วนปลาย บวม ซีดและเย็น
การประเมินภาวะสุขภาพ
การตรวจร่างกาย
บันทึกน้ําหนักตัว สังเกตบริเวณหลอดเลือดดําที่อยู่ตื้น คลําอุณหภูมิของผิวหนัง
3 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การใช้คลื่นเสียงความถี่สูงชนิดพิเศษตรวจเลือดเลือดดํา
การฉีดสารทึบแสงเข้าทางหลอดเลือดดํา (Venography)
1.การซักประวัติ
อาการปวด บวม ปวดน่องร่วมด้วย ประวัติเจ็บป่วยในอดีต
การรักษา
ยกบริเวณที่อักเสบให้สูงขึ้น
ให้ยาแก้ปวด , NSAIDs
หยุดฉีดยา หรือเปลี่ยนตําแหน่งที่ฉีดยาใหม่
2.กระบวนการพยาบาลผู้ป่วยที่มีโรคหรือผิดปกตขิองหลอดเลือดแดง
2.1 ภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertension)
ภาวะที่มีความดันตัวบน มากกว่าหรือ เท่ากับ 140 มม.ปรอทหรือ
ความดันตัวล่าง มากกว่าหรือเท่ากับ 90 มม.ปรอท
อาการ
ระบบประสาทและสมอง ปวดศีรษะ ตาพร่า ชักเกร็ง
ไต มีการตีบแข็งของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงไต
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ตา มีการเปลี่ยนแปลงของจอภาพ
การรักษา
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
1) อาหารลดความดันโลหิต
2) จํากัดการดื่มแอลกอฮอล์
3) ออกกําลังกายแบบแอโรบิก
4) หยุดสูบบุหรี่
5) การผ่อนคลายความเครียด
การรักษาด้วยยา
ยากลุ่มAEB
ยากลุ่ม ACEI
ยาขับปัสสาวะ
ยากลุ่ม Calcium antagonists
การประเมินภาวะสุขภาพ
การตรวจร่างกาย
-สภาพทั่วไป สัญญาณชีพ น้ําหนักและดัชนีมวลกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
U/A
การซักประวัติ
อาการสําคัญ ได้แก่ มึนงง ปวดศีรษะโดยเฉพาะตอนเช้าหลังตื่นนอน
2.2 ภาวะ Arterial occlusion
หลอดเลือดแดงมีการอุดตัน ทําให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อได้น้อยลง ช้าลง ไม่เพียงพอกับความ ต้องการของร่างกาย
อาการ
ปวดขาเวลาเดินหรือออกกําลังกาย และอาการจะหายไปภายใน1-2นาทีถ้าหยุดพัก
หากเป็นทหี่ลอดเลือด แดงที่เลี้ยงขาจะปวดที่เท้า ขาเย็นและชา ผิวหนัง ขนและเล็บเริ่มผิดปกติ
การรักษา
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม งดสูบบุหรี่
การให้ยาในกลุ่มต้านการแข็งตัวของเกล็ดเลือด (Antiplatelet)
การผ่าตัด
การประเมินภาวะสุขภาพ
การซักประวัติ
อาการปวดขณะทํากิจกรรม ความรุนแรง ตําแหน่งที่ปวด
การตรวจร่างกาย
ชีพจรส่วนปลาย คลําหลอดเลือดแดงที่แขนบริเวณ brachial และ radial artery
สังเกตลักษณะของผิวหนัง เล็บและขน บนขาและแขน ดูการแตกของผิวหนัง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ABI
MRA
2.3 ภาวะหลอดเลือดแดงโป่งพอง (Arterial Aneurysm)
ความผิดปกติที่หลอดเลือดแดงใหญ่ทําให้มีขนาดใหญ่ขึ้นผนังหลอดเลือดแดงบางลงเกิดการปริและรั่วซึมทําให้มีเลือดคั่งในช่องอกหรือช่องท้อง
การประเมินภาวะสุขภาพ
การตรวจร่างกาย
คลําพบก้อนที่ยอดอกหรือสะดือโดยมีจังหวะการเต้นตามชีพจรและฟังเสียงที่ก้อนได้
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
CBC
CXR
การซักประวัติ
อาการปวดหลังและปวดท้องอย่างรุนแรง หรือเจ็บหน้าอก
อาการ
วดท้องปวดหลังหรือ อาการอื่นเช่น ureteric obstruction มีลิ่มเลือดอุดตันที่ขา
การรักษา
การผ่าตัด ป้องกันไม่ให้ aneurysm ขยายขนาด ก่อนจะเกิดการแตก
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีโรคหรือผิดปกติของหัวใจ
1.3 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของหัวใจเนื่องจากการอักเสบติดเชื้อ:
3.1. การอักเสบที่เยื่อบุหัวใจ (Infective Endocarditis)
การอักเสบที่เยื่อบุหัวใจ (endocardium) หรือลิ้นหัวใจ (valve)
อาการ
อาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ได้ยินเสียง murmur
3.3 การอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericarditis)
การอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจ (pericardium)
อาการ
เจ็บบริเวณหน้าอก คอ ใต้ไหปลาร้าและสะบักด้านซ้าย
3.2 การอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ (Myocarditis)
การอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ (myocardium)
อาการ
ผู้ที่ อาการไม่รุนแรงหรือปานกลาง จะอ่อนเพลีย เหนื่อยหอบ ใจสั่น รู้สึกไม่สุขสบาย
การรักษา
การกําจัดเชื้อที่ทําให้เกิดการอักเสบ
การผ่าตัดเมื่อมีข้อบ่งชี้
การรักษาตามอาการ
การเฝ้าระวังและรักษาอาการแทรกซ้อน
1.4 การพยาบาลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจเสื่อมหรือกล้ามเนื้อหัวใจพิการ (Cardiomyopathy)
สาเหตุ
ไม่ชัดเจนอาจเกิดจากโรคต่างๆ
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะหัวใจล้มเหลว ทําให้มีอาการเหนื่อยหอบเวลาออกแรง (DOE) เหนื่อย ล้าไอเหนื่อยหอบผู้ป่วยอาจเจ็บอกใจสั่นเวียนศีรษะเป็นลม
การรักษา
ตามอาการ และรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว
1.1 โรคหลอดเลือดแดงโคโรนารี (Coronary artery disease, CAD)
การมี Plaque โคเลสเตอรอลและสารอื่น
สะสมในผนังของหลอดเลือดแดงรวมทั้งหลอดเลือด หัวใจ
อาการ
มีอาการและอาการแสดง หากหลอดเลือดแดงตีบร้อยละ 50 ขึ้นไป
เจ็บเค้นอก
อาการอื่นได้แก่
ใจสั่น เหงื่อออก เหนื่อยขณะออกแรง เป็นลม หมดสติ หรือเสียชีวิตเฉียบพลัน
ไม่มีอาการ เมื่อเริ่มมีหลอดเลือดตีบ
อาจมีอาการของหัวใจล้มเหลว เช่น เหนื่อยง่าย หัวใจเต้นเร็ว บวมหน้าแขน/ขา
การประเมินภาวะสุขภาพผู้ที่มีโรคหลอดเลือดหัวใจ
การซักประวัติ
อาการเจ็บแน่นหน้าอกประวัติเจ็บป่วยในอดีต
การตรวจร่างกาย
สัญญาณชีพผิดปกติ ระดับความรู้สึกตัวลดลง ผิวหนังเย็นชื้น คลื่นไส้ อาเจียน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
cardiacenzymes ที่บ่งชี้ถึงการตายของกล้ามเนื้อหัวใจเช่นTroponinT(TnT)
การตรวจพิเศษอื่นๆ
Exercise stress testing
การฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ ฯลฯ
EKG)
การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจ
ปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิต
ดูแลควบคุมโรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยง
การรักษาด้วยยาต่างๆ ตามอาการ
การรักษาในภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
การรักษาด้วยยา 3 กลุ่ม
ยาละลายลิ่มเลือด
ยาต้านการเเข็งตัวของเลือด (Anticoagulant agents)
ยาต้านเกร็ดเลือด (Antiplatelet agents)
การสวนหัวใจ
1.5 ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart failure)
กล้ามเนื้อหัวใจไม่สามารถบีบตัวส่งเลือดไปสู่เนื้อเยื่อให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายทั้ง ในขณะพักหรือขณะออกแรง
อาการ
ภาวะสมองพร่องออกซิเจน
อ่อนเพลีย
ไอ
บวม (Edema)
อาการเหนื่อยหอบ
อาการของระบบทางเดินอาหาร
หลอดเลือดดําใหญ่บริเวณคอโป่งพอง
การรักษา
2.2 การใส่เครื่องกระตุ้น
2.3การผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ
2.1 การผ่าตัด
1.2 การพยาบาลผู้ป่วยโรคลิ้นหัวใจผิดปกติ (Cardiac valvular disease, Valvular heart disease, Heart valve disease)
2 โรค Mitral Regurgitation
ลิ้นปิดไม่สนิทระหว่างการบีบตัวของหัวใจล่างซ้าย
เกิดจากไข้รูมาติคและกล้ามเนื้อหัวใจตาย ทําให้การมีเลือดย้อนกลับจาก left ventricle สู่ left atrium
3 โรค Aortic Stenosis
ลิ้น aortic valveผิดปกติแต่กําเนิดหรือมีโรคเช่นrheumaticendocarditis
1 โรค Mitral Stenosis
การอุดกั้นของเลือดที่ออกจาก left atrium จะเข้าสู่ left ventricle
สาเหตุ ส่วนใหญ่มาจากโรค ไข้รูมาติคที่ทําให้ลิ้นหัวใจ และ ส่วน chordae tendineae แข็ง
4 โรค Aortic Regurgitation
การอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่ไม่มีอาการผิดปกติ อาจพบหัวใจเต้นแรง รู้สึกได้
ที่บริเวณ carotid และ temporal
การประเมินภาวะสุขภาพผู้ที่มีโรคลิ้นหัวใจผิดปกติ
การซักประวัติ
หอบเหนื่อย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การตรวจเลือด
EKG
ารตรวจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
การตรวจร่างกาย
ขาบวมเสียงฟู่(murmurหากมี
หัวใจล้มเหลว
ฟังเสียงปอดเพื่อประเมินภาวะน้ําคั่งในปอด
สัญญาณชีพชีพจรไม่สม่ำเสมอหอบเหนื่อย
การรักษา
การรักษาด้วยวิธีการขยายหรือถ่างลิ้นหัวใจตีบด้วยบอลลูน
การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัดเปลี่ยนหรือซ่อมแซมลิ้นหัวใจ
การรักษาด้วยย