Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติในระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติในระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทและความผิดปกติมีดังนี้
สมองใหญ่ (Cerebrum)
Diencephalon (Hypothalamus, Pituitary gland)
ก้านสมอง (Brainstem)
สมองเล็ก (Cerebellum)
ระบบควบคุมกล้ามเนื้อนอกระบบสั่งการ Motor (Extrapyramidal system)
ไขสันหลัง (Spinal-cord)
เส้นประสาท (Peripheral nerve)
รอยต่อของเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ (Neuromuscular-junction)
อวัยวะส่วนปลาย (Muscle, receptor, visceral organ)
การประเมินภาวะสุขภาพผู้ใหญ่ในระบบประสาท
ประวัติเจ็บป่วยในปัจจุบัน
อาการผดิปกติทางระบบประสาทที่พบบ่อย
การเปลี่ยนแปลงความรู้สึกตัว/ การรู้สติ (Alteration of conscious, AOC)
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติครอบครัว
ประวัติจิตสังคม
2.การตรวจร่างกาย
สัญญาณชีพ
การตรวจศีรษะ คอและหลัง
สภาวะทางจิตใจ (Mental status)
ระดับความรู้สึกตัว หรือความรู้สติ
การรับความรู้สึก (Sensory function)
การทดสอบสัมผัส (Touch sensation)
การทดสอบความรู้สึกเจ็บปวด (Pain sensation)
ปฏิกิริยาตอบสนองหรือรีเฟล็กซ์ (Reflexes)
การตรวจการทำงานของ reflex หรือการตรวจปฏิกิริยาเอ็นกล้ามเนื้อ (Deep tendon Reflex, DTR)
Superficial reflexes
รีเฟลกซ์ฝ่าเท้า (Plantar reflex, Babinski’s sign)* บ่งการทำงานของ nerve
การตรวจพิเศษ
การถ่ายภาพด้วยคลื่นแม่เหล็ก (MRI brain , MRA )
ส่งใบแจ้งการ CT และประสานงาน
ซักประวัติการมีโลหะในร่างกาย เครื่องประดับpacemaker ประวัติการผ่า ตดั โลหะตรึงกระดูก ลิ้นหัวใจเทียม clip หนีบเส้นเลือด ตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลหลังทำการรักษา
-พร่องความรู้เกี่ยวกับการตรวจพิเศษ
ดูแลให้ได้รับยาคลายกังวล/ยาระงับประสาทก่อนตรวจ
ให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยและญาติให้ทราบขั้นตอนการตรวจผลของสารทึบรังสีและการปฏิบัติตัวขณะตรวจ
เสี่ยง/ มีการเปลี่ยนแปลงการทำงานของระบบประสาทส่วนกลางหลังจากการตรวจพิเศษ
สังเกตบริเวณที่ตรวจเช่น เจาะหลังจัดท่านอนราบ อย่างน้อย 3 ชั่วโมงหลังเจาะหลังหรอืการตรวจ myelogram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบประสาท
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการชักและโรคลมชัก (Seizure and Epilepsy)
การประเมินภาวะสุขภาพผู้ป่วยที่มีภาวะชัก
อาการก่อนเกิดอาการชัก (preictal symptoms)
อาการนํา (prodromes)
ความรู้สึกไม่ค่อยสบาย กระสับกระสาย ปวดศรีษะ
อาการเตือน (aura)
ปวดศีรษะ ซึม หลับ สับสน
อาการชัก (seizure symptoms)
ลักษณะการชักเป็นเฉพาะที่ (partial seizure) หรอืชักทั้งตัว (generalized seizure)
อาการหลังชัก (postictal symptoms)
หูแวว เห็นภาพหลอน
ปัจจัยกระตุ้นอาการชัก (precipitating or trigger factors)
แสงกระพริบ เสียงดัง ความเครียดทางร่างกายหรือจิตใจที่รุนแรง การมีประจำเดือน
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การดูแลตามหลัก ABC (airway, breathing, circulation)
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-มีโอกาสเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจเนื่องจากระดบัความรู้สึกตัวลดลง
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง จัดทำนอนตะแคงข้างป้องกันสำลัก โดย(ให้ระวังในผู้ที่บาดเจ็บบริเวณคอ) ไม่ใส่สิ่ง ใดๆเข้าปากเพื่อป้องกันผู้ป่วยกัดลิ้นเพราะจะทำให้อันตรายมากขึ้น
1.2 ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increased Intracranial Pressure, IICP)
สาเหต1) เนื้อสมองเพิ่มขึ้น เนื่องจากสมองบวม 2) เลือดคั่งและมีก้อนเลือด 2) เลือดคั่งและมีก้อนเลือด4) สิ่งครอบครองพื้นที่ในกะโหลกศีรษะ (Mass lesion)
พยาธิสภาพ
กระโหลกศีรษะเป็นอวัยวะที่มีปริมาตรคงที่ภายในกระโหลกประกอบด้วยเนื้อสมองร้อยละ 80(1,400 ม.ล) เลือดร้อยละ 8 (30-80 ม.ล) น้ำไขสันหลัง (CSF) ร้อยละ 12 (100-150 ม.ล)หากปริมาตรของส่วนประกอบใดเพิ่มขึ้นจะส่งผลให้ความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้นร่างกายจะรักษาค่าความดันในกระโหลกศรีษะให้ปกติ ทฤษฎี Monroe-Kelly อธิบายว่า ช่องภายในกะโหลกศีรษะมปีริมาตรคงท่ีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบอย่างใดอย่างหนึ่งของ สมอง เลือด CSF หรือการมีสิ่งครอบครองพื้นที่ภายในกะโหลกศีรษะ (Mass lesion) ก่อให้เกิดการเพิ่มของความดันในกะโหลกศีรษะ
กลไกการปรับชดเชย 3 ระยะ เมื่อมี IICP
ระยะชดเชยโดยการปรับควบคุมอัตโนมัต
ระยะปรับตัวชดเชยแบบ Cushing’ response หรือ Cushing’s reflex
ระยะเสียกลไกการปรับชดเชยโดยสิ้นเชิง
อาการและอาการแสดงของภาวะ IICP
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนไป ปวดศีรษะและอาเจียน
การมองเห็นผิดปกติ ตามัว ภาพซ้อน จากแรงกดบน visual pathway
สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง ในระยะท้ายมี Cushing triad
การประเมินภาวะสุขภาพผู้ป่วยที่ภาวะแรงดันในกะโหลกศีรษะสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ภาวะแรงดันในกะโหลกศีรษะสูงในระยะแรก
การ Resuscitation
การจัดทำผู้ป่วย
การควบคุมระดับความดันโลหิตและแรงดัน CPP
การควบคุมระดับความดันของก๊าซคารบอนไดออกไซด์ในเลือด
การให้ยากันชัก
รักษาสภาวะร่างกาย (Homeostasis)
ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ: ลดไข้ รักษาปริมาณสารน้ำในร่างกายให้ปกติ ระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติ (Euglycemia) เพื่อป้องกันไม่ให้สมองถูกทำลาย
การรักษาด้วยยา
Mannitol เป็น osmotic diuretics ที่นิยมใช้ มีฤทธิ์ทำให้เกิดความแตกต่างของความเข้มข้น
การรักษาด้วยการผ่าตัด
ผ่าตัดเจาะกระโหลกศีรษะ (Burr holes)
ผ่าตัดเอาก้อนในกะโหลกศีรษะออก (Craniotomy remove mass lesion)
ผ่าตัดเปิดกะโหลก ลดความดันในกะโหลก (Decompressive Craniectomy)
ภาวะแทรกซ้อนของการใส่สาย ventriculostomy และการพยาบาล
การติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง
การระบาย CSF มากเกินไป (over-drainage)
การดูแลผู้ป่วย IICP ในระยะยาว มีดังนี้
การจัดการภาวะสมองบวม (Cerebral Edema Management)
การดูแลเพื่อคงการกำซาบของสมอง (Cerebral Perfusion Promotion)
การดูแลในทางเดินหายใจ (Airway Management)
การป้องกันแผลกดทับ (Pressure Ulcer Prevention)
การดูแลด้านโภชนาการ (Nutrition Therapy)
การออกกำลังกายและกายภาพบำบัด (Exercise Therapy)
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การกำซาบของเนื้อเยื่อสมองลดลงเนื่องจากความดันในกะโหลกศีรษะสูง หรือจากการบาดเจ็บของสมอง(เป้าหมาย: CPP > 60 mmHg,ICP < 15 mmHg,MAP 80-100 mmHg)
ประเมิน V/S, N/S, ICP เช่น ปวดศรีษะ คลื่นไส้อาเจียนรุนแรงตาพร่ามัว ทุก 1-2 ชั่วโมง รายงานแพทย์ถ้าผิดปกติ
จัดนอนศีรษะสูง 15-30 องศา ส่งเสริมการไหลเวียนของเลือดดำกลับเข้าสู่หัวใจ ไม่เกิดการคั่งของเลือดในสมอง ลด IICP การนอนศรีษะสูงทำให้เลือดไปเลี้ยงไม่ดีเกิดการเลื่อนของสมองกดศูนย์หายใจได้
-แบบแผนการหายใจผิดปกติ/การขับเสมหะไม่มีประสิทธิภาพ
ประเมินระดับความรู้สึกตัว GCS, pupil hemodynamic ,SpO2
1.3 การบาดเจ็บที่ศีรษะ (Head injury)
การบาดเจ็บที่ศีรษะ แบ่งตามกายภาพมีดังนี้
1 การบาดเจ็บต่อหนังศีรษะ ถลอก ช้ำ ฉีกขาดและโน (subgaleal hematoma)
2 การแตกของกะโหลกศีรษะ (Skull fractures)
3 การมีเลือดออกภายในกระโหลกศีรษะ (Intracranial hemorrhage)
เลือดออกเหนือชั้นดูรา (Epidural hematoma, EDH)
เลือดออกใต้ชั้นดูรา (Subdural hematoma, SDH)
เลือดออกในเนื้อสมอง (Intracerebral hematoma, ICH)
เลือดออกใต้ชั้นอแรคนอยด์ (Subarachnoid hematoma)
เลือดออกในโพรงสมอง (Intraventricular hemorrhage, IVH)
การประเมินสภาพผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ
รุนแรงน้อย (Minor traumatic head injury) GCS 13-15
รุนแรงปานกลาง (Moderate traumatic injury) GCS 9-12
รุนแรงมาก (Severe traumatic head injury) GCS 3-8
การการแบ่งความเสี่ยง ผู้ป่วย Minor traumatic head injury
1 Minor traumatic head injury = GCS 15
Moderate traumatic injury = GCS 13 -14 หรือ GCS 15
Severe traumatic head injury
การดูแลรักษาผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศรีษะ
สังเกตอาการ และพิจารณาส่ง CT brain ในผู้ป่วย mild และ moderate head injury
การดูแลเพื่อป้องกัน secondary brain injury ในผู้ป่วย severe head injury
การรกัษาด้วยยา
การรกัษาด้วยการผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การกำซาบของเนื้อเยื่อสมองไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากการไหลเวียนของเลือดในสมองลดลง มีเลือดออกในเนื้อสมอง
ปวดศีรษะเฉียบพลัน เนื่องจากการบาดเจ็บของสมอง
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน: ความดันในกระโหลกสูง เนื่องจากสมองบวมและเลือดออกในสมอง
มีความบกพร่องในการเคลื่อนไหว เนื่องระดับความรู้สึกตัวลดลงและการจำกัดกิจกรรม
1.4 โรคหลอดเลือดสมอง (Cerebrovascular disease, Stroke)
ปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมอง
อายุ เมื่ออายุมากขึ้น หลอดเลือดก็จะเสื่อมตามไปด้วย
เพศ พบว่าเพศชายมีความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองสูงกว่าเพศหญิง
เชื้อชาติ พบว่า คน African American
ปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันได้
ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
ไขมันในเลือดสูง
โรคหัวใจ เช่น โรคลิ้นหัวใจ ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
โรคหลอดเลือดสมองแบ่งตามระยะเวลาการดำเนินของโรค แบ่งเป็น 3 ชนิดได้แก่
Transient ischemic stroke (TIA)
Progressive stroke
Complete stroke
โรคหลอดเลือดสมองแบ่งตามพยาธิสภาพ แบ่งเป็น 2 ชนิด
โรคหลอดเลือดสมองจากการขาดเลือด (ischemic stroke)
โรคหลอดเลือดสมองจากการมีเลือดออก (hemorrhagic stroke)
การประเมินภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
การใหคะแนนจากการประเมินด้วย NIHSS จำแนกออกเป็น 4 ระดับดังนี้
คะแนน ≤ 4 = Mild Impairment คะแนน 5–14 = Mild to Moderately
คะแนน 15–24 = Severe Impairment คะแนน 25 = Very Severe Impairment
การแปลผลของคะแนน NIHSS: คะแนนมากแสดงว่า มีความรุนแรงของโรคมาก
ต่างจาก GCS ถ้าคะแนนมากแสดงว่าผู้ป่วยมีความรุนแรงของโรคน้อย
การดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแบ่งเป็น 2 ระยะ
ระยะหลังเฉียบพลัน (Post acute stage)
ระยะเฉียบพลัน (Acute stage)
การรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
การให้ยาละลายลิ่มเลือด (Thrombolytic Agent)
การรักษาโรคหลอดเลือดสมองปริแตกหรือฉีกขาด
การรักษาภาวะแทรกซ้อนของโรคหลอดเลือดสมอง
ภายหลังระยะวิกฤติ ปัญหาที่พบในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและแนวทางการฟื้นฟู่สภาพมีดังนี้
กลืนลำบาก (dysphagia)
ความบกพร่องทางสติปัญญาและการเรียนรู้ (Cognitive impairment)
การเพิกเฉยต่อข้างที่มีอาการอ่อนแรง (unilateral neglect)
ความบกพร่องของการทำงานของระบบการมองเห็นชั้นสูง (Visuospatial impairments)
การพยาบาลผู้ป่วย Stroke ในระยะแรก (Acute)
ดูแลทางเดินหายใจ ให้ได้รับออกซิเจนหรือเครื่องช่วยหายใจ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ
ดูแลให้ได้รับยารักษาภาวะสมองบวม เช่น Mannitol
ป้องกันการเกิด secondary injury
การพยาบาลผู้ป่วย Stroke ในระยะหลังเฉียบพลัน
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน IICP, ปอดอักเสบ การติดเชื้อในทางเดนิ ปัสสาวะ
ส่องเสริมการฟื้นฟูสภาพ ช่วยให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
วางแผนการจำหน่าย
ข้อวินจิฉัยทางการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
มีการเปลี่ยนแปลงการรับรู้ เนื่องจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยง
การกำซาบของเนื้อเยื่อสมองลดลง เนื่องจากภาวะความดันในกะโหลกศรีษะสูงจากเลือดออกในสมอง/ สมองบวม
เสี่ยงต่อการสำลัก เนื่องจากระดับความรู้สึกตัวลดลง การกลืนผิดปกติภาวะอ่อนแรงครึ่งซีก
การป้องกันการกลับเป็นซ้ำของโรคหลอดเลือดสมอง
ควบคมุ ปัจจัยเสี่ยง เช่น ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง การสูบบุหรี่
ตรวจเช็กสุขภาพประจำปี เพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยง ถ้าพบต้องรบีรักษาและพบแพทย์อย่างสม่ำเสมอ
รับประทานยาอย่างสม่ำเสมอตามแผนการรักษา ห้ามหยุดยาเอง รีบพบแพทย์ทันทีถ้าผิดปกติ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด: สมองบวม
บันทึกสัญญาณชีพทุก 15 นาทีเป็นเวลา 1 ชั่วโมง ทุก 30 นาที1 ชั่วโมง จนอาการทั่วไปคงที่ วัดความดนัโลหิตถ้า SBP > 185- 220 mmHg หรือ DBP > 120-140 mmHg วัด 2 ครั้ง ติดต่อกันใน 5 นาที ให้รายงานแพทย์ทันที
บันทึกค่า ICP ถ้า > 15 mmHg รายงานแพทย์ หากมี hydrocephalus เตรียม ventriculostomy/ tapping
สังเกตสีผิวหนังและเยื่อบุต่างๆ บันทึกฯ SpO2 ทุก 15 นาที
มีโอกาสเกิด IICPจากการอุดกั้นของventriculostomy
ดูแลให้ระดับของท่อระบายจะอยู่เหนือหู10 ซม
ป้องกันการอุดตันของท่อระบายน้ำไขสันหลัง ระวังสายพับงอ ระวังการหลุดของท่อ, clamp ทุกครั้งที่เคลื่อนย้ายผู้ป่วย
1.5 เนื้องอกสมอง (Brain tumor)
1) เนื้องอกที่เกิดจากเนื้อสมอง (Tumors of neuroepithelial tissue)
2) เนื้องอกของเส้นประสาทสมองและไขสันหลัง (Tumors of cranial and paraspinal nerves)
3) เนื้องอกของเยื่อหุ้มสมอง (Tumors of the meninges)
4) เนื้องอกที่เกิดจากความผิดปกติของเลือดและน้ำเหลือง (Lymphomas and Haemopoietic neoplasm’s)
5) เนื้องอกที่ของเซลสืบพันธุต้นกำเนิด (Germ cell tumors)
สาเหตุของเนื้องอกสมอง
อายุที่เพิ่มมากขึ้น การสูบบุหรี่ ประวัติในครอบครวั เป็นโรคมะเรง
พยาธิสภาพ
เนื้องอกกดเบียดเนื้อสมองอาจทำให้เกิดภาวะสมองบวม ความดันในกะโหลกศีรษะสูง น้ำคั่งในโพรงสมอง การเคลื่อนของสมอง (brain herniation) เนื้องอกอาจกดทับเส้นประสาทสมอง หลอดเลือดสมองจนเกิดภาวะสมองขาดเลือด ทำให้มีอาการผิดปกติทางระบบประสาท เสียชีวิตหากไม่ได้รับการรักษา
อาการ
ปวดศีรษะ ในตอนเช้าหลังตื่นนอน หรือปวดศีรษะเวลากลางคืน
คลื่นไส้ อาเจียนแบบพุง (projectile vomiting)
ชัก เนื่องจากสมองถูกกระตุ้น ทำให้มีการปล่อยกระแสไฟฟ้าออกมาผิดปกติ
การประเมินภาวะสุขภาพเนื้องอกสมอง
การรักษามะเร็งสมอง
รักษาตามอาการ เช่น ยาสเตียรอยด์ เช่น Dexamethasone
เคมีบำบัด
การผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด Transphenoidal hypophysectomy
สูญเสียการมองเห็นจากการที่ optic chiasm ถูกทำลายระหว่างผ่าตัด
มีการรั่วของ Cerebrospinal fluid (CSF) จากเยื่อชั้นดูรา
ภาวะเบาจืด (DI) อาจพบได้ภายใน 3 วันหลังผ่าตัด
การฟื้นฟูสมรรถภาพหรือการทำกายภาพบำบัด
ผู้ป่วยอาจพบสมองถูกทำลายจากเซลล์มะเร็ง ส่งผลต่อความสามารถในการทำกิจกรรมเช่นการพูด การเดิน หรือการทำงาน
การรักษาแบบทางเลือก
การเลือกรับประทานอาหาร การรับประทานอาหารเสริม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ภาพลักษณ์เปลี่ยนแปลงจากการเปลี่ยนแปลงการทำหนาที่ของระบบประสาท
ประเมินภาพลักษณ์ผลกระทบจากการเจ็บป่วย การรักษา
ประเมินอาการและอาการแสดงของระบบประสาท พร้อมแจ้งให้ญาติหรือครอบครัวทราบเหตุผลที่ต้องทำการประเมิน
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผาตัด Transphenoidal approach
ดูแลความสะอาดในช่องปาก เนื่องจากต้องหายใจทางปาก คอแห้ง
เฝ้าสังเกตอาการรั่วของน้ำไขสันหลัง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอักเสบ ติดเชื้อหรือการเสื่อมของระบบประสาท
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
พยาธิสภาพ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อแบคทีเรียอาจผ่าน ทางระบบเลือดและทางการสัมผัสโดยตรงระหว่างเยื่อหุ้มสมองกับโพรงจมูก ผิวหนัง ส่วนใหญ่มีการติดเชื้อไวรัสนำมาก่อน ซึ่งทำให้มีการสูญเสียการทำงานป้องกันของเยื่อบุปกติ เมื่อเชื้อแบคทีเรียเข้าถึงกระแสเลือดจะสามารถเขาถึงช่องว่างใต้เยื่ออะแร็กนอยด์ได้ การติดเชื้ออาจเกิดจากการใส่อุปกรณ์คาไว้ช่องไขสันหลัง การแตกของกะโหลก การติดเชื้อของโพรงไซนัสซึ่งทำให้เกิดทางเชื่อมกับช่องว่างใต้เยื่ออะแร็กนอยด์
อาการ
ระยะแรกมีอาการคล้ายไขหวัดใหญ่ เมื่อผ่านไปหลายชั่วโมงหรือ 2-3 วันต่อมาจะปวดศีรษะ
1.อาการคอแข็งเกร็ง 2 ไข้สูงเฉียบพลัน 3 การเปลี่ยนแปลงของสภาพจิต
การประเมินภาวะสุขภาพผู้ป่วยเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การรักษาโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การรักษาการติดเชื้อ ยาปฏิชีวนะ Ampicillin, Penicillin
การรักษาตามอาการ เช่น ยาคอร์ติสเตียรอยด์
การป้องกันโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เชื้อสามารถแพร่กระจายได้ทางการไอ จาม และการใช้ของใช่ส่วนตัว
การป้องกันโรคในผู้ใหญ่
วัคซีน IPD (Pneumococcal Vaccine)
วัคซีนป้องกันโรคหัด โรคคางทูม และโรคหัดเยอรมัน (MMR)
วัคซีนป้องกันโรคไข้กาฬหลังแอน (Meningitis ACWY Vaccine)
2.2 ไข้สมองอักเสบ (Encephalitis)
โรคที่ถ่ายทอดกันอยู่ในระหว่างสัตว์ทั้งสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสัตว์ปีก สุกร โค กระบือ ในเมืองไทยพบว่าลูกสุกรเป็นแหล่งแพร่เชื้อที่สำคัญเชื้อไวรัสจะขยายพันธุ์ในสัตว์เหล่านี้ โดยมียุงรำคาญที่อยู่ตามบ้านเเละท้องนาเป็นพาหะ เมื่อถูกยุงกัด เชื้อที่อยู่ในเลือดของสัตว์จะเจริญแพร์พันธุ์ ในตัวยุงและสามารถบินได้ไกลหลายกิโลเมตรเมื่อยุงกัดผู้ใดก็จะแพร่เชื้อเข้าสู้ผู้ที่ถูกกัด ซึ่งบางคนอาจไม่มีอาการ แต่บางคนจะป่วยเป็นไข้สมองอักเสบ พบมากในช่วงฤดูฝน แต่ก็อาจพบได้ตลอดปี
อาการ
ไข้สูงปานกลาง ปวดศีรษะมาก เวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียนบ่อย
การรักษา
เพื่อลดอาการบวมของสมอง ดูแลระบบทางเดินหายใจ
การป้องกันไข้สมองอักเสบ
การจัดการสิ่งแวดล้อม ไม่ให้ถูกยุงกัด
การฉีดวัคซีนป้องกันโรคทั้งในเด็ก และในผู้ใหญ่
การดูแลอย่างต่อเนื่องที่บ้าน
ดูแลให้ได้รับอาหารโปรตีนและพลังงานสูง
การทำกายภาพบำบัด
พักผ่อนและนอนหลับอย่างเพียงพอ
2.3 ฝีในสมอง (Brain abscess)
พยาธิสรีรภาพ
แบ่งออกได้เป็น 4 ระยะ
Early cerebritis (วันที่ 1-3)
Late cerebritis (วันที่ 4-9)
Early capsule formation (วันที่ 10-13)
Late capsule formation (หลังวันที่ 14)
อาการ
ปวดศีรษะ ไข้ ระดับความรู้สึกลดลง อาจมีอาการระบบประสาทเฉพาะที่ตามตำแหน่งที่มีฝี
การวินิจฉัยโรค
การทำ MRI และ CT scan สมองเพื่อดูขนาดและตำแหน่งของฝี ภาพเป็นวงแหวนรอบๆฝี
• การส่งเพาะเชื้อหนองจากสมอง หรือผลเลือดส่งตรวจเพาะเชื้อ
• การตรวจอื่นเช่น Chest X-ray
การรักษา
การรักษาด้วยยาต้านจุลชีพตามผลการตรวจเพาะเชื้อ
ติดตามผลเพาะเชื้อภายหลัง
การรักษาทางศัลยกรรม ดูดหนองออก เพื่อควบคุมความดันในกระโหลกศีรษะ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การกำซาบของเนื้อเยื่อสมองลดลงเนื่องจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมองและความดันในกระโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
-จัดทำเพื่อป้องกันการสำลัก
-ดูดเสมหะเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
-ประเมินอาการชักและดูแลให้ได้รับยากันชัก
-เฝ้าระวังอุบัติเหตุในขณะชัก
2.4 โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง (Multiple sclerosis)
กลไกของโรคเกิดจากสารบางชนิดมีกลไกกระตุ้นให้เม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์ออกจากต่อมน้ำเหลืองประสาทหรือปลอกมัยอิลินที่หุ้มอยู่รอบเส้นประสาทให้ใยประสาทไม่มีปลอกหุ้มและเกิดแผลเป็น ทำส่งผลให้การนำกระแสประสาทช้าลง เกิดเป็นอาการผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอาการพร้อมกันได้
อาการและอาการแสดง
1) เส้นประสาทตาอักเสบ (Optic neuritis)
2) ไขสันหลังอักเสบ ทำให้แขน ขา หรือลำตัว
การประเมินภาวะสุขภาพ
การรักษา
การรักษาเฉพาะ ในระยะกำเริบ
การรักษาอาการต่างๆของโรค
ยาควบคุมอาการปวด ยาคลายกล้ามเนื้อ
2.5 กลุ่มอาการกิลแลงบาร์เร (Guillain-Barre Syndrome, GBS)
ปัจจัยเสี่ยง
การติดเชื้อโดยเฉพาะเชื้อแบคทีเรยีที่ทำให้เกิด enteritis ได้แก่ Campylobacter Jejuni กลุ่มอาการ GBS แบ่งเป็นหลายชนิด ที่พบบ่อยคือ Acute Inflammatory Demyelinating Polyradiculoneuropathy: AIDP
อาการ
1) การเคล่อืนไหวผิดปกติ (Motor) กล้ามเนื้ออ่อนแรงส่วนต้นของแขนขา ทั้ง 2 ข้าง มักเกิดขึ้นกับอวัยวะส่วนล่าง แล้วลุกลามขึ้นไปยังส่วนบนของร่างกาย อาการอาจเกิดขึ้นเฉียบพลันในเวลา 2-3 ชั่วโมง
การประเมินภาวะสุขภาพ
การรักษากลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร
1) การเปลี่ยนถ่ายพลาสม่า (Plasmapheresis)
2) การรักษาด้วยอิมมโูนโกลบูลิน (Immunoglobulin Therapy, IVIG)
3) การรักษาอื่น ๆได้แก่ กายภาพบำบัดในช่วงก่อนและระหว่างที่รอฟื้นตัว
2.6 โรคมายแอสทีเนียกราวิส (Myasthenia gravis, MG)
สาเหตุของโรคไม่แน่ชัดเชื่อว่าเป็นภูมิต้านทานตนเอง การได้รับยา Aminoglycoside, quinine, procainamide, calcium channel blocker หรือมีความผิดปกติทางพันธุกรรม โรคนี้เกิดขึ้นได้ทุกช่วงอายุถ้าเริ่มเป็นที่อายุ20-30 ปี พบมากในเพศหญิง ถ้าเริ่มเป็นหลังอายุ51 ปี พบมากในแพศชาย
อาการและอาการแสดง
1) กล้ามเนื้ออ่อนแรง เริ่มจากด้านบน (ตา ใบหน้า) ลำตัว ต่อไปยัง แขนขา โดยจะมีอาการลำหลังออกแรงระยะหนึ่งและดีขึ้นถ้าพัก เป็นๆหายๆระหว่างวัน
การประเมินภาวะสุขภาพ
การรักษา
การรักษาด้วยยากลุ่ม Anticholinesterase inhibitors: pyridostigmine (Mestinon)
การผ่าตัดต่อมธัยมัส (Thymectomy) เนื่องจากต่อมนี้ผลิตและทำให้ T cell เติบโต
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อหายใจ
ประเมินการหายใจ ลำไส้ไม่เคลื่อนไหว มีการคั่งของปัสสาวะ ไม่มีDeep tendon reflex
-ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดกล้ามเนื้อ
ดูแลให้ได้รับยาปวดตามแผนการรักษา
2.7 โรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease)
โรคท่เีกิดจากเซลล์สมองบริเวณก้านสมอง (Substantia nigra ใน Basal ganglia) มีจำนวนลดลงโดยไม่ทราบสาเหตุ ทำให้สารสื่อประสาทโดปามีน (Dopamine) มีปริมาณลดลง มักพบในผู้สูงอายุ 60 ปี
อาการ
สีหน้าเมินเฉย ไม่แสดงอารมณ์ พูดเบาไม่ชัด เขียนหนังสือลำบาก สั่นขณะช่วงการพัก
การรักษา
การรักษาด้วยยาทำให้มีปริมาณโดพามีนเพียงพอ
การรักษาโดยการผ่าตัดกระตุ้นสมองส่วนลึก (deep brain stimulation)
การทำกายภาพบำบัดเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตใกล้เคยีงคนทั่วไป
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
พร่องความรู้เกี่ยวกับโรค
ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรค สาเหตุ อาการ และแนวทางการรักษาแก่ผู้ป่วย ผู้ดูแลและครอบครัว
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่อง
แนะนำจัดสงิ่ แวดล้อมสะอาด สว่าง ไม่มีสิ่งกีดขวาง มีอุปกรณ์ช่วยเดินเก้าอี้และราวในห้องน้ำ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบประสาทส่วนปลายหรือไขสันหลัง
โรคปวดเส้นประสาทใบหน้า (Trigeminal neuralgia)
สาเหตุ
การที่เส้นเลือดที่อยู่ใกล้เคยีงกับเส้นประสาทใบหน้าคู่ที่ 5 (trigeminal nerve)
อาการ
ปวดแปลบคล้ายไฟช็อตที่บริเวณใบหน้า อาจมีอาการคล้ายปวดฟัน ปวดบริเวณเหงอืก
การประเมินภาวะสุขภาพ
การซักประวัติอาการสำคัญ ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน ประวัติการเจ็บป่วยในอดตี
การตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษ: การตรวจสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรอื MRI
การรักษาโรคปวดเส้นประสาทใบหน้า
การใช้ยา กลุ่มยากันชัก เพื่อช่วยบรรเทาอาการปวด
การผ่าตัดเพื่อแยกเส้นเลือดที่กดทับเส้นประสาทออก (microvascular decompression)
การฉายรังสี เพื่อทำลายเส้นประสาท
โรคอมัพาตเบลล์หรือ โรคใบหน้าเบี้ยว (Bell’s palsy)
สาเหตุ
อาจเกิดจากที่ร่างกายสร้างสารภูมิต้านทานจากการติดเชื้อไวรัสต่างๆและภูมิต้านทานนี้ส่งผลให้เกิดการอักเสบของประสาทใบหน้า
การรักษา
1) การรักษาด้วยยา
ยาสเตียรอยด์: เพรดนิโซโลน
2) การดแูลดวงตา โดยใส่ที่ปวดตาหรือแว่นตากันลม
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การสื่อสารผิดปกติเนื่องกล้ามเนื้อใบหน้าอ่อนแรง
ให้กำลังใจไม่เร่งรบีเมื่อต้องพูดคยุ กับผู้ป่วย
-อธิบายว่ามีโอกาสหายได้ถ้าโรคไม่รุนแรง
-เยื่อบุช่องปากผิดปกติเนื่องจากการรับความรู้สึกลดลง/ กล้ามเนื้อในการเคี้ยวผิดปกติ
ให้จิบนำ้บ่อยๆ รับประทานอาหารครั้งละน้อย เคี้ยวด้านตรงข้ามกับด้านที่ผิดปกติเคียวให้ละเอียดเลี่ยงอาหารร้อน
ประเมินเยื่อบุช่องปาก
การบาดเจ็บของไขสันหลัง (Spinal cord injury)
สาเหตุ
การบาดเจ็บ จากอุบัติเหตทางถนน
สาเหตุอื่น ได้แก่ หมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม การอักเสบของมัยอีลิน
การบาดเจ็บไขสันหลังแบ่งตามกลไกการบาดเจ็บ
Hyperflexion
Hyperextension
Excessive rotation
Vertical compression
Penetrating injury
พยาธิสรีรวิทยา
การบาดเจ็บหรือแรงกระแทกที่กระดูกสันหลัง ทำให้ไขสันหลงัถูกทำลาย ระบบประสาทอัตโนมัติ ทำงานผิดปกติ พยาธิสภาพของการบาดเจบ็ จะเกิดขึ้นใน 5 นาที มีการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ส่วนสีเทา
(gray mater) มีการหล่งั catecholamine ออกมาจากเซลล์ประสาท ทำให้มีภาวะเลือดออกในไขสันหลัง
เพิ่มขึ้นภายใน 2 ช่วัโมง ส่วนพื้นที่สีขาว (white matter) จะบวม ขาดเลือดและออกซิเจน ภายใน 4
ช่วัโมง เซลล์รอบบริเวณบาดเจ็บจะมีเลือดไปเลี้ยงลดลง มีการหลั่งสารสื่อประสาทจากเซลล์ ทำให้เซลล์ ไขสันหลังบาดเจ็บมากข้นึและอาจถูกทำลาย 70 % ภายใน 24 ชั่วโมง จนพิการถาวรได้ อาการบวมของ
ไขสันหลัง ทำให้การรับความรู้สึกและการทำหน้าที่เสยีชั่วคราว อาจบวมใน 2-3 วันและหายไปใน 7 วัน
การบาดเจ็บที่ไขสันหลังแบ่งตามระดับการบาดเจ็บ
บาดเจบ็ ชนิดสมบูรณ์(Complete spinal cord injury
บาดเจ็บชนดิไม่สมบูรณ์ (Incomplete spinal cord injury)
1) Anterior cord syndrome
2) Brown-Sequard syndrome (Hemicord lesion)
3) Central cord syndrome
4) Posterior cord syndrome
5) Conus medullaris syndrome (Sacral cord injury)
6) Cauda equina syndrome
ภาวะแทรกซ้อนจากการบาดเจ็บไขสันหลัง
ภาวะช็อกของไขสันหลัง (Spinal Shock หรือ Areflexia)
ภาวะรีเฟล็กซ์ประสาทอัตโนมัติผิดปกติ (Autonomic dysreflexia หรือ Hyperreflexia)
ภาวะความดันโลหิตตกขณะเปลี่ยนทำ (postural hypotension)
การประเมินสภาพบาดเจ็บที่ไขสันหลัง
ระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บที่ไขสันหลัง
ASIA A: อัมพาตอย่างสมบูรณ์ไม่มกีารเคลื่อนไหว ไม่มีความรู้สึก
ASIA B: มีความรู้สึกในระดับ S4-5 แต่เคลื่อนไหวไม่ได่เลย
ASIA C: ความแข็งแรงของกล้ามเนื้ออยู่ต่ำกว่าระดับ 3
ASIA D: ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อระดับ 3 ขึ้นไป
ASIA E: การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและการรับความรู้สึกปกติ
การรักษาผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง
การดูแลผู้ป่วยในระยะ Spinal shock จะช่วยป้องกันไม่ให้พิการเพิ่มขึ้น
การดูแลผู้ป่วยหลังระยะ spinal shock
2.1 การดูแลกระดูกสันหลังที่หัก
2.2 การดูแลระบบหายใจ
การฟื้นฟูสภาพ (Rehabilitation)
ดูแลการหายใจ ควบคมุ อาการปวด ดูแลการขับถ่ายปัสสาวะ อุจจาระ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-แบบแผนการหายใจไม่ประสิทธิภาพ/ทางเดินหายใจไม่โล่ง/การแลกเปลี่ยนกาซบกพร่อง
ติดตามค่าออกซิเจนในเลือด
-ทำกายภาพบำบัด เช่น ฝึกหายใจด้วยกระบังลม เคาะปอดเพื่อช่วยขับเสมหะ จัดทำเพื่อระบายเสมหะ
โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท (Herniated disc/ Herniated NucleusPalposus, HNP)
สาเหตุ
การยกของหนักด้วยท่าทางที่ไม่ถูกต้องบ่อยๆ
น้ำหนักตัวที่มากเกินไป
อาการ
ปวดขา ชาขา ตามแนวที่เส้นประสาทวิ่งไป อาจปวดตั้งแต่เอว ต้นขา น่อง
การรักษาโรค
รับประทานยาแก้อักเสบหรือยาคลายกล้ามเนื้อ การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงประสาท
กายภาพบำบัด
การผ่าตัดหมอนรองกระดูกผ่านกล้องเอ็นโดสโคป
ข้อวินจิฉัยการพยาบาล: ก่อนผ่าตัด
พร่องความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองหลังผ่าตัด
กลัว และวิตกกังวล เกี่ยวกับผ่าตัด
ข้อวินจิฉัยการพยาบาล:
หลังผ่าตัดปวดเฉียบพลัน Acute pain
การเคลื่อนไหวผิดปกติ