Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติในระบบภูมิคุ้มกัน - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติในระบบภูมิคุ้มกัน
โรคเอสแอลอี (Systemic Lupus Erythematosus: SLE)
เกิดจากมีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันชนิดที่ทําให้มีการสร้างแอนติบอดี้มาทําลาย เนื้อเยื่อของร่างกาย (Autoimmune disease)
ทําให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective tissue) และอวัยวะทั่วร่างกาย
1 การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
ตรวจร่างกายระบบต่างๆ
โดยเฉพาะ ผิวหนัง ข้อและกล้ามเนื้อ และตรวจเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อนเช่น ภาวะ ไตวาย เยื่อหุ้มหัวใจและเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
การประเมินทางด้านจิตใจ
อาจมีภาวะ psychosis, depression ชัก ภาพลักษณ์ เปลี่ยนแปลง
สัญญาณชีพ
หากอาการรุนแรงมีความล้มเหลวของอวัยวะจะมีสัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง
การตรวจจากห้องปฏิบัติการ
5 การตรวจพิเศษเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อน
การเอกซเรย์ทรวงอก การอัลตร้าซาวด์ หวั ใจ การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การตรวจการทํางานของปอด การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง การ ตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือตรวจอื่นๆของสมอง
4 Erythrocyte Sedimentation Rate (ESR) และ C-reactive protein (CRP)
มีการ อักเสบ จะมีระดับสูง
2 Anti-DNA
การ ตรวจหาแอนติบอดีที่
เฉพาะเจาะจงต่อเอสแอลอี ซึ่งจะพบผลบวก
3 CBC
เพื่อตรวจหา anemia, leucopenia, leukocytosis หรือ thrombocytopenia
1 Antinuclear antibody (ANA)
ตรวจหา แอนติบอดีต่อส่วนประกอบในนิวเคลียสของเซลล์ (ANA) ซึ่งใน
ผู้ป่วยเอสแอลอี พบผลบวก 95%
การซักประวัติ
1อาการ ระยะเวลาการเกิดอาการและสิ่งกระตุ้นให้เกิดอาการ
เช่น แสงแดด ความเครียด การติดเชื้อ สารเคมีเช่น น้ํายาย้อมผม ยาบางชนิด เป็นต้น
2ประวัติความเจ็บป่วยในครอบครัวและโรคทางพันธุกรรม
3ประวัติโรคหรือการได้รับยา
นื่องจากการติดเชื้อเช่น ไวรัสตับอักเสบซี และการใช้ยาหรือ สารเคมี
ถือเป็นปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการของโรคเอสแอลอี
4 การรับรู้ของผู้ป่วยเกี่ยวกับโรคหรือความเจ็บป่วย
เพื่อนํามาเป็นข้อมูล ประกอบการให้การพยาบาล เพื่อส่งเสริมการดูแลตนเอง
หลักเกณฑ์การวินิจฉัยโรคเอสแอลอี ของ American Rheumatism Association
เคยมีอาการและตรวจพบอาการดังต่อไปนี้ ตั้งแต่ 4 อย่างขึ้นไป
ผื่นบริเวณโหนกแก้ม ลักษณะคล้ายปีก ผีเสื้อ (Malar rash หรือ butterfly rash)
ผื่นDiscoidในลักษณะเดียวกับที่พบในกลุ่มDiscoidlupus
ไวต่อแสงแดด หรือมีอาการแพ้แสงแดด (Photosensitivity)
แผลในปาก (Oral ulcer)
ข้ออักเสบ (Arthritis)
ความผิดปกติทางไต มักตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria)
ความผิดปกติทางระบบประสาทที่หาสาเหตุไม่ได้ เช่น ชัก หรืออาการทางจิต
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ (Pleuritis) หรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (Pericarditis)
โลหิตจางแบบ Hemolytic anemia หรือมีเมด็เลือดขาวต่ำกว่าปกติ หรือเกรด็
เลือดต่ำกว่าปกติ
การตรวจเลือดแอนติบอดีต่อดีเอ็นเอ ให้ผลบวก หรือตรวจ VDRL ได้ผลบวกปลอม
การตรวจ Antinuclear antibodies (ANA) ในเลือดให้ผลบวก
2 การรักษา
ยาต้านมาลาเรีย เช่น Hydroxychloroquine sulfate หรือ Chloroquine
รักษาอาการปวดข้อ อาการผื่นที่ผิวหนัง แผลในปาก อ่อนเปลี้ย และไข้
Corticosteroid ชนิดรับประทานหรือชนิดฉีด
หากอาการรุนแรงหรือเมื่อใช้ยา NSAIDs และ Antimalarials แล้วไม่ได้ผล
NSAIDs เช่น Diclofenac, Indomethacin ใช้ในรายที่อาการไม่รุนแรง
เพื่อลดปวดและควบคุม อาการอักเสบ
ให้ยากดภูมิคุ้มกัน (Immunosuppressant)
เมื่อมีอาการทางไตหรือการอักเสบของกล้ามเนื้อและข้อ อย่างรุนแรง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิไวเกิน (Hypersensitivity reaction)
ภูมิไวเกินแบ่งเป็น 4 ชนิด
ภาวะภูมิไวเกินแบบที่ 2
พบในภาวะการให้เลือด ผิดกลุ่ม
เกิดขึ้นภายใน 15- 30 นาที
ภาวะภูมิไวเกินแบบที่ 3
ร่างกายถูกกระตุ้นจากแอนติบอดีรวมกับแอนติเจนจาก ภายนอก antigen-antibody (immune) complexes ทําให้มีการกระตุ้นระบบ complement activation เกิดการรวมตัวกันของเม็ดเลือดขาวและเกิดความเสียหายต่อเนื้อเยื่อ
พบใน serum sickness, rheumatoid arthritis, systemic lupus erythematosus, Arthus reactions
(อาจพบหลังฉีดวัคซีน Tetanus หรือ Diphtheria)
ภาวะภูมิไวเกินแบบที่ 1
เกิดขึ้นเมื่อร่างกายสัมผัสแอนติเจน (Antigen) หรือสารก่อภูมิแพ
พบบ่อยได้แก่ ละอองเกสร สปอร์เชื้อรา ไรฝุ่น ฝุ่น ขนสัตว์ สารพิษจากแมลง โปรตีน ธรรมชาติ เช่น ถั่ว นม อาหารทะเล ไข่ ยา โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะและวัคซีน (ป้องกันบาดทะยักและคอตีบ)
อาการเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วภายใน15-30นาที
อาจเกิดอันตรายถึงชีวิต
ภาวะภูมิไวเกินแบบที่ 4
เกิดขึ้นหลังจากได้รับสาเหตุของอาการแพ้ผ่านไปแล้ว 12 ชั่วโมง โดยทั่วไป จะเกิดประมาณ 18-24 ชั่วโมง
2.1การรักษา
ยา antihistamines และ/หรือ corticosteroids.
ในรายที่อาการฉุกเฉินต้องติดตามอาการใกล้ชิด
ยา epinephrine/ ยา beta2 adrenoceptor agonist เช่น salbutamol
การรักษาเฉพาะ
ภูมิไวเกินแบบที่ 2 ขณะให้เลือด หรือ ภูมิไวเกินแบบที่ 3 และอาการรุนแรง
1)
หยุดยาทันที
ถ้ามีอาการ Chest tightness. Back pain, diffuse erythroderma, dyspnea, tachycardia, hypertension, hypotension and sensation of extreme anxiety
2) ให้ยา Dexamethasone 10 mg IV และ CPM 10 mg IV ทันที
ภูมิไวเกินแบบที่ 4 รักษาตามอาการ
ภูมิไวเกินแบบที่ 1
llergen immunotherapy เป็นการ desensitizing ฉีดเพิ่มขึ้นที ละน้อย ทําให้มีการกระตุ้นการทํางาน
หยุดสิ่งที่ทําให้แพ้
1.1 การประเมินสภาพ
2 การตรวจร่างกาย
2.1 การประเมินสัญญาณชีพ
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ทําให้หลอดเลือดขยายทั่วร่างกาย มีการซึมผ่าน ของพลาสมาออกนอกหลอดเลือด
ทําให้ปริมาณเลือดออกจากหัวใจใน 1 นาทีลดลง
เนื้อเยื่อได้รับ ออกซิเจนไม่เพียงพอ
เกิดการล้มเหลวของอวัยวะ
อุณหภูมิร่างกายต่ำ ชีพจรเต้นช้าและเบา หายใจเร็ว ความดันโลหิตต่ำ
2.2 การประเมินอาการแสดงของระบบต่างๆ
ภูมิไวเกินชนิดที่ 2
ความดันโลหิต เพิ่มขึ้นหรือต่ำลงเฉียบพลัน แน่นหน้าอก หายใจลําบาก หอบ
เหนื่อย และพบภาวะขาดออกซิเจน
ผิวหนังเปลี่ยนแปลง เช่น มีผื่นคัน หน้าแดง มีบวมตามผิวหนังหรือบริเวณหลอดเลือด
มีไข้ อาจมีหนาวสั่น อุณหภูมิสูงขึ้นเกินกว่า 1 องศาเซลเซียส
พบบ่อยที่สุด หลังหรือ
ระหว่างให้เลือด
คลื่นไส้อาเจียน ปัสสาวะดําหรือ มีสีเข้ม มีเลือดออกตามอวัยวะภายในหรือบริเวณชั้นใต้ผิวหนัง
ภูมิไวเกินชนิดที่ 3
ตัวอย่างอาการแสดงจากปฏิกิริยาภูมิแพ้ Arthus reactions
อาการปวด รุนแรง บวม มีเลือดออก อาจมีเนื้อตาย
เกิดภายหลังฉีดวีคซีน 4-12 ชั่วโมง
ภูมิไวเกินชนิดที่ 1
อาจมีเพียงเล็กน้อยเช่น allergic rhinitis หรือมีอาการหลายระบบการ ขยายตัวของหลอดเลือดทั่วร่างกายจากปฏิกิริยาภูมิแพ้
ประเมินหน้าที่ของอวัยวะโดยเฉพาะหัวใจและหลอดเลือด ปอด ไต และสมอง
หาก ทางเดินหายใจอุดกั้น ผู้ป่วยจะหายใจเร็ว หายใจลําบาก หายใจมีเสียงดัง
เลือดไปเลี้ยงไตไม่เพียงพอ มีปัสสาวะออกน้อย
อาการสมองขาดเลือด ได้แก่ ซึม สับสน หมดสติ เป็นต้น
3 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ/ การตรวจพิเศษ
2 Eosinophil count
การนับจํานวน Eosinophil ในเลือดโดยตรงและนับจากสารคัดหลั่ง เช่น
จากจมูก เยื่อบุตา เสมหะ
Total serum Immunoglobulin E level (IgE level)
ตรวจหาระดับ IgE ในเลือด ซึ่ง การตรวจพบ IgE ในระดับสูงแสดงถึงภาวะ
Atopic disease
4 การทดสอบทางผิวหนัง (Skin test)
ข้อห้ามในการ ทดสอบ คือ
ระยะที่มีอาการกําเริบซึ่งมีภาวะหดเกร็งของหลอดลม
ผลการทดสอบที่เป็นผลบวก ได้แก่ ผิวหนังบริเวณที่ทดสอบเกิด ผื่นนูน (wheal) ผิวหนังร้อน แดง และมีอาการคัน (Erythema/ pruritis)
พยาบาลควรเตรียมอุปกรณ์ฉุกเฉินที่พร้อมสําหรับช่วยชีวิตเมื่อเกิดอาการแพ้
5 การตรวจอื่น
ภูมิไวเกินแบบที่ 2
Direct antiglobulin test (DAT)
เป็นการตรวจหาแอนติบอดีบนเม็ดเลือดแดง
Indirect antiglobulin test (IAT)
ตรวจหาออโตแอนติบอดีอิสระในเซรั่มให้ผลบวกใน alloimmunization จากการรับเลือด
ภูมิไวเกินแบบที่ 3
Erythrocyte sedimentation rate (ESR)
การตรวจที่บ่งบอกว่ามีการอักเสบ ค่าสูงในหลายโรค เช่น รูมาตอยด์ เอสแอลอี
C-reactive protein
โปรตีนที่ร่างกายสร้างขึ้นเพื่อตอบสนองต่อการอักเสบ
Anti-nuclear factor (ANF)
ตรวจหาแอนติบอดี
ต่อส่วนประกอบในนิวเคลียสของเซลล์ (ANA)
1 Complete blood count with differential ได้แก่ การตรวจ Eosinophils
ถ้าเพิ่มเป็น 5% - 15% แสดงว่ามีภาวะภูมิแพ้
1 การซักประวัติ
ประวัติอาการแพ้ในครอบครัวและประวัติการแพ้ของผู้ป่วย
ประวัติโรคหรือการได้รับยา เช่น ยาแก้ปวดกลุ่ม NSAID ยาปฏิชีวนะ
ระยะเวลา ของการได้รับยาอาจสัมพันธ์กับอาการและอาการแสดง เช่น เป็นผื่นคันทั่วตัว หน้าบวม
อาการ ระยะเวลาการเกิดอาการ และสิ่งกระตุ้นให้เกิดอาการ
การรับรู้ของผู้ป่วยเกี่ยวกับโรค
สาเหตุ อาการ ความเสี่ยงต่อการเกิดอาการ ความรุนแรง และผลของการเจ็บป่วย และการดูแลสุขภาพ
ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง: การติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ (HIV infection and AIDS)
การประเมินสภาพ
1 การซักประวัติ
1.3 ประวัติการเจ็บป่วย การได้รับยา
1.5 การรับรู้ของผู้ป่วยเกี่ยวกับโรคหรือความเจ็บป่วย
1.2 ประวัติความเจ็บป่วยในครอบครัว
1.1 อาการ ระยะเวลาการเกิดอาการ
2 การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายควรตรวจทุกระบบ เพื่อประเมินอาการแสดงของโรคในระยะต่างๆ
3 การประเมินทางด้านจิตใจ
เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรังที่ผลกระทบต่อจิตใจ บทบาทและ สัมพันธ์ภาพในครอบครัว
4 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การติดเชื้อเอชไอวี 3 ระยะ
ระยะสงบ (Clinical Latency Stage) หรือ ระยะติดเชื้อเรื้อรัง (chronic HIV infection)
ระยะที่มีเชื้อโดยไม่แสดงอาการหรือ อาจมีอาการเล็กน้อย
กลุ่มที่อาการเล็กน้อย
ถ้าตรวจระดับ CD4 มักจะมีมากกว่า 500 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร ผู้ป่วยอาจมีอาการต่อมน้ําเหลืองที่คอโตเล็กน้อย โรคเชื้อราที่เล็บ แผลร้อนใน ผิวหนังอักเสบชนิดเกล็ดรังแคที่ไรผม ข้างจมูก
ริมฝีปาก ฝ้าขาวข้างลิ้น โรค สะเก็ดเงินกําเริบ
อาการปานกลาง
ระดับ CD4 มักจะมีจํานวน 200-500 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร ผู้ป่วยอาจมีอาการดังนี้ เริมที่ริมฝีปากหรืออวัยวะเพศ ซึ่งกําเริบบ่อยและเป็นแผลเรื้อรัง งูสวัด โรคเชื้อ ราในช่องปากหรือช่องคลอด
ระยะสุดท้ายคือ ระยะเอดส์เต็มขั้น (AIDS )
ระยะที่การติดเชื้อเอชไอวีได้พัฒนาเป็นโรคเอดส์ มีการลดของปริมาณเซลล์ CD4 อย่างมากคือ ต่ำกว่า 200 (ปกติ 500 ถึง 1,600)
ระยะเฉียบพลัน (Acute HIV Infectious)
ระยะแรกของการติดเชื้อเอชไอวี ช่วง 2-4 สัปดาห์ ระยะนี้เชื้อไวรัสจะเพิ่มจํานวนอย่างมากทําให้เซลล์ CD4 ลดลงอย่างรวดเร็ว
มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น มีไข้ เจ็บคอ ต่อมน้ําเหลืองโต ปวดเมื่อยตามร่างกาย มีผื่น ปวดหัว
เอชไอวี มีวงจรชีวิต
Nuclear entry
Translation, assembly and budding
Uncoating and reverse transcription
Integration and transcription
Binding and entry