Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่ม 1 หลักการ แนวคิด ทฤษฎีการบริหารความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการศึกษากับช…
กลุ่ม 1 หลักการ แนวคิด ทฤษฎีการบริหารความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการศึกษากับชุมชน
แนวคิดและหลักการในการสร้างความสัมพันธ์
แนวคิดการสร้างความสัมพันธ์
สตูฟส์แรฟเฟอร์ตี้ และจอห์นสัน (1961)
ต้องมีทั้งการให้และการรับสารต่อชุมชน
สร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนจะได้ผลต้องใช้วิธีหลายวิธีในเวลาเดียวกัน
สร้างความสัมพันธ์ด้วยความจริงใจและเข้าใจต่อกัน
ควรสร้างความสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
โรงเรียนควรให้ข้อมูลที่น่าสนใจง่ายต่อการเข้าใจและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ฟิวส์โก้ (2009)
สร้างความคุ้นเคยกับชุมชนที่อยู่แวดล้อมโรงเรียน
ศึกษาทำความเข้าใจชุมชน
วางแผนพัฒนาให้ชุมชนร่วมประเมินใช้หลักสูตร ใช้อุปกรณ์และทรัพยากรบุคคลในชุมชน
ทำงานร่วมกับบุคคลหรือองค์กรในชุมชนโดยหลักการประชาธิปไตยอย่างสัมฤทธิ์ผล
ให้ชุมชนได้ประจักษ์ในด้านความสามารถในวิชาชีพและให้ประจักษ์ว่าการศึกษาเป็นกระบวนการที่สร้างความเจริญก้าวหน้า
ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ (2560)
ความเข้าใจอันดีต่อกัน ช่วยให้ทราบความเคลื่อนไหวหรือความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับทั้งสองฝ่ายช่วยลดและแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกัน และช่วยให้เกิดการมีส่วนร่วมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์
หลักการในการสร้างความสัมพันธ์
ธีระ รุญเจริญ (2550)
โรงเรียนเป็นของประชาชน
ผู้บริหารการศึกษาควรอยู่ใกล้ชิดกับประชาชน
เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนรู้เห็นกิจการของโรงเรียน
พบปะผู้ปกครอง หรือเยี่ยมนักเรียนที่บ้าน
โรงเรียนช่วยพัฒนาชาวบ้าน
ควรให้เกียรติ
ไพเราะ กาญจนสิงห์ (2551)
ยึดหลักมนุษยสัมพันธ์
ยึดหลักความจริงใจหรือบริสุทธิ์ใจ
ซื่อสัตย์
คงเส้นคงวา
ยึดความเสียสละ
ยึดความอดทน
ยึดความยืดหยุ่น
ยึดความต่อเนื่อง
ยึดการครอบคลุมเนื้อหา
ยึดความเรียบง่าย
ยึดการสร้างสรรค์
ความสามารถในการปรับตัว
ยึดความเป็นผู้ให้ชุมชนมากกว่าผู้รับจากชุมชน
สมนีก พงษ์สกุล (2556)
ยึดหลักในการปฏิบัติงานด้วยความบริสุทธิ์ใจและตั้งใจอย่างจริงจัง
วาสนา ชูแสง (2557)
ควรมีการศึกษาพื้นฐานของชุมชนนั้นให้เข้าใจ
มีการประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึง
มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องทั้งใน และนอกโรงเรียน
โรงเรียนควรยอมรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากคนในชุมชน
รุ่งทิพย์ เข็มทิศ (2559)
การประชาสัมพันธ์โรงเรียน
การให้บริการชุมชน
การเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน
การได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนร่วมมือในการพัฒนาชุมชน
การเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนและหน่วยงานอื่น
ประสงค์ ถึงแสง (2559)
3S’s
S –Shared Vision
S- Synergy
S-School Based Activities
หลักการสร้างเชื่อมั่นและไว้วางใจ
การสร้างความสัมพันธ์ชุมชนและโรงเรียนที่ดีมีพื้นฐานมาจากความเชื่อมั่นและไว้วางใจ (Trust)
ความหมาย ความสำคัญ และองค์ประกอบของการสร้างความสัมพันธ์
ความหมายของการสร้างความสัมพันธ์
แฮร์ริส (1963)
การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน การแจ้งข่าวคราว การเคลื่อนไหวทางการศึกษาให้ชุมชนทราบ แล้วให้ความช่วยเหลือชุมชน ตลอดจนการเสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
ไพเราะ กาญจนสิงห์ (2551)
การทำให้เกิดความเข้าใจอันดี ต่อกันด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ในการให้ความช่วยเหลือ ส่งเสริมและสนับสนุน การศึกษาให้ก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพสูง
วาสนา ชูแสง (2557)
กระบวนการดำเนินงานของโรงเรียน เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน และเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนร่วมกำหนดความมุ่งหมาย และนโยบาย ร่วมถึงให้ความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการศึกษา ความสนับสนุนทางด้านทรัพยากร กำลังคนและทุนทรัพย์เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของโรงเรียน
รุ่งทิพย์ เข็มทิศ (2559)
การวางแผนดำเนินการบริหารงาน ติดต่อประสานความร่วมมือกับชุมชน ผู้ปกครองนักเรียน บุคคลในชุมชน สร้างความเข้าใจระหว่างชุมชน ผู้บริหาร คณะครู อาจารย์ และสร้างความรู้สึกว่าโรงเรียนเป็นของชุมชนอย่างแท้จริง ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมกิจกรรมที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาการศึกษา ทั้งโรงเรียนและชุมชน
ความสำคัญของการสร้างความสัมพันธ์
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
หมวด 1 แนวการจัดการศึกษา กล่าวถึงเจตนารมณ์ที่จะจัดการศึกษา มาตรา 8(2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และมาตรา 29 โดยยืดหลักว่า ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องศ์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ๆ
ไพเราะ กาญจนสิงห์ (2551)
โรงเรียนเป็นแหล่งผลิต พัฒนา อบรมและคัดเลือกสมาชิกที่ดีแก่ชุมชน และให้ชุมชนมีส่วนร่วมสนับสนุนโรงเรียนด้วย
โรงเรียนเป็นแหล่งถ่ายทอดวัฒนธรรมให้แก่ชุมชน
โรงเรียนเป็นศูนย์รวมของวิทยาการต่าง ๆ ที่สามารถทำให้สมาชิกของชุมชน
มีความก้าวหน้าทางการศึกษา
โรงเรียนเป็นศูนย์กลางของชุมชนที่จะช่วยพัฒนาชุมชน เปิดโอกาสให้สมาชิก
มีส่วนร่วมแก้ไข ปัญหา และสร้างภาพพจน์ที่ดีของโรงเรียนรวมทั้งภาพพจน์ที่ดีของครู
วาสนา ชูแสง (2557)
โรงเรียนและชุมชนมีวัตถุประสงค์เดียวกัน คือ การพัฒนาคนให้เป็นคนที่สมบูรณ์ ดังนั้นถ้าเราสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนให้เข้าใจตรงกันและให้ชุมชนรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน และมีความเต็มใจให้ความร่วมมือกับโรงเรียนก็จะทำให้การดำเนินงาน
ต่าง ๆ ของโรงเรียนในทุก ๆ ด้านมีความคล่องตัว
ชูชาติ พ่วงสมจิตร (2560)
ชุมชนคือศูนย์กลางที่ยึดเหนี่ยวทุกคนทุกครอบครัวให้มารวมกันเป็นสถาบันระดับพื้นฐานที่ช่วยสร้างระบบในการจัดการตนเองให้เหมาะสมกับสภาพของชุมชน รวมถึงเป็นศูนย์กลางในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ และเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน
องค์ประกอบของการสร้างความสัมพันธ์
อรรณพ คุณเศรษฐ (2556)
1.แนวนโยบายของโรงเรียน
ความร่วมมือของบุคลากร
ความพร้อมของโรงเรียน
ความพร้อมของชุมชน
รุ่งทิพย์ เข็มทิศ (2559)
นโยบายของโรงเรียน
ความพร้อมของโรงเรียนและชุมชน
มีความร่วมมือกันทุกฝ่าย
มีกลไกที่ก่อให้เกิดความร่วมมือ
มีการจัดตั้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และสมาคมผู้ปกครองและครู
กำหนดบทบาทหน้าที่ร่วมกันในทิศทางที่พึงประสงค์
มีการดำเนินงานให้เกิดความร่วมมือ มีการวางแผนการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนร่วมกันทั้งสองฝ่าย
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างความสัมพันธ์
ซิกมันด์ ฟรอยด์ (1947)
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis Theory)
ระดับการรู้ตัวของบุคคล
ระดับที่ 1 จิตสำนึก (Conscious) คือส่วนที่เป็นความรู้สึกและการรู้ตัวอยู่ตลอดเวลา
ระดับที่ 2 จิตใต้สำนึก (Preconscious) เป็นส่วนที่สามารถจะนำขึ้นมาสู่ระดับจิตสำนึกโดยอัตโนมัติ หรือเมื่อมีสิ่งกระตุ้นเพียงล็กน้อย
ระดับที่ 3 จิตไร้สำนึก (Unconscious) เป็นระดับความรู้ตัวที่ลึกที่สุดของบุคคล เป็นสภาพที่บุคคลไม่รู้ตัวและเป็นระดับที่มีปริมาณมาก
โครงสร้างบุคลิกภาพ
ส่วนที่ 2 อีโก้ (The Ego) ทำหน้าที่หาทางออกและทำความพึงพอใจให้กับ "อิด" ในวิถีทางที่เหมาะสม
ส่วนที่ 3 ซุปเปอร์อีโก้ (The Superego) ทำหน้าที่บอกเตือนเกี่ยวกับเรื่องศีลธรรม จรรยาบรรณ วัฒนธรรม ค่านิยมและกฎเกณฑ์ของสังคม
ส่วนที่ 1 อิด (The Id) แสดงออกเมื่อความต้องการทางชีวภาพของบุคคลถูกกักเก็บ เป็นส่วนที่ไม่ได้รับการขัดเกลา ปราศจากความยับยั้งชั่งใจ
มาสโลว์ (1954)
ทฤษฎีความต้องการของพื้นฐานของมนุษย์
ความต้องการด้านร่างกาย
ความต้องการความปลอดภัยและความมั่นคงในชีวิต
ความต้องการทางด้านสังคม
ความต้องการเกียรติยศ ชื่อเสียงและการยกย่องนับถือ
ความต้องการได้รับความสำเร็จและเป็นตัวของตัวเอง
อัลเดอร์เฟอร์ (1972)
ทฤษฎีความต้องการของอัลเดอร์เฟอร์
ความต้องการมีชีวิตอยู่
ความต้องการมีสัมพันธภาพกับคนอื่น
ความต้องการเจริญก้าวหน้า
ชุทซ์ (1960)
ระดับพฤติกรรม
ความต้องการความเป็นพวกพ้อง
ความต้องการมีอำนาจควบคุม
ความต้องการความรักใคร่ชอบพอ
ระดับความรู้สึก
มิติที่ 1 ความสำคัญ
มิติที่ 2 ความสามารถ
มิติที่ 3 ความน่าคบ
ความเข้ากันได้ของบุคคล
เป็นความเข้ากันได้ของบุคคลซึ่งเกิดจากความต้องการที่เหมือนกัน เช่น ชอบเข้าสังคมเหมือนกัน
เป็นความเข้ากันได้ของบุคคลซึ่งเกิดจากความต้องการที่ต่างกันหรือตรงข้ามกัน
นางจันทนา หมดมลทิน สาขานวัตกรรมการบริหารการศึกษา รหัสนักศึกษา 65U54620205