Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 35 ปี Dx : Diabetes mellitus (DM) with Urinary Tract…
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 35 ปี
Dx : Diabetes mellitus (DM) with Urinary Tract Infection (UTI)
DM
Diabetes mellitus
ภาวะเเทรกซ้อน
กรณีศึกษา
จากกรณีศึกษา ผู้ป่วยมีภาวะเเทรกซ้อนเเบบเฉียบพลัน คือ Hyperglycemia
เเละมีภาวะเเทรกซ้อนเเบบเรื้อรัง คือ UTI
UTI
Urinary Tract Infection
ภาวะเเทรกซ้อน
ทฤษฎี
ภาวะเเทรกซ้อนเฉียบพลัน : ติดเชื้อในกระเเสเลือด ไตวายเฉียบพลัน
ภาวะเเทรกซ้อนเรื้อรัง : ภาวะไตเสื่อมอย่างถาวร
กรณีศึกษา
จากกรณีศึกษา ผู้ป่วยมีภาวะเเทรกซ้อนเเบบเฉียบพลัน คือ ติดเชื้อในกระเเสเลือด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 1
-มีภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากการหายไม่มีประสิทธิภาพ
ข้อมูลสนับสนุน
S: ผู้ป่วยบอกว่า"รู้สึกเหนื่อย เเละอ่อนเพลีย"
O: ผู้ป่วย On Hight flow nasal cannula 45 L/min Fio2 0.4
O: ค้่า O2 saturation = 92 %
O: ผลตรวจผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ วันที่ 1/5/66 ผลตรวจ CBC ค่า Hemoglobin 11.1 g/dl Low, ค่า Hematocrit 34.1 % Low, ค่า M.C.H 26.2 FL Low
จุดมุ่งหมาย
-ร่างกายได้รับออกซิเจนเพียงพอ
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยไม่มีอาการเเสดงของภาวะพร่องออกซิเจน คือ ซึม อ่อนเพลีย หายใจเหนือย อัตราการหายใจเร็ว ปลายมือปลายเท้าซีด
ค่า Vital signs อยู่ในเกณฑ์ปกติ : T = 36.5-37.4 องศาเซลเซียส P = 80-100 ครั้ง/นาที R = 16-24 ครั้ง/นาที Bp = 90/60-120/80 mmHg
O2 saturation มากว่าหรือเท่ากับ 92 %
กิจกรรมการพยาบาล
ดูเเลจัดท่านอนหงายศีรษะสูง Fowler’position
ดูเเลให้ผู้ป่วย On Hight flow nasal cannula 45 L/min Fio2 0.4 ตามเเผนการรักษาของเเพทย์
สังเกตอาการเเละอาการเเสดงของภาวะพร่องออกซิเจน คือ ซึมลง อ่อนเพลีย หายใจเหนื่อย อัตราการหายใจเร็ว ปลายมือปลายเท้าซีด ผิวหนังเย็น Capillary refill มากกว่า 2 วินาที
ดูเเลวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงเเละสังเกตลักษณะการหายใจ อัตราการหายใจ เเละค่าO2 Saturation
ดูเเลให้ผู้ป่วยลดการทำกิจกรรม เเนะนำให้ผู้ป่วยพักผ่อนที่เตียง
กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกอย่างมีประสิทธิภาพ โดยสูดลมหายใจเข้าทางจมูก เเละเป่าออกทางปาก สลับกันช้าๆ
ดูเเลให้ได้รับยา Meropenam 1 g IV q 8 hr. ตามเเผนการรักษาเเละติดตามอาการข้างเคียงของยาคือ ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ
การรักษา
ทฤษฎี
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบน/มีไข้สูง ควรให้ยาปฏิชีวนะ 7-14 วัน
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง/ไม่มีไข้ ควรให้ยาปฏิชีวนะ 3-7 วัน
แนวการรักษา คือการให้ยาปฏิชีวนะประมาณ 3-7 วันขึ้นอยู่กับชนิดของยา ร่วมกับการรักษาตามอาการหากจำเป็น เช่น ยาแก้ปวดชนิดคลายการบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะ และพยายามดื่มน้ำให้มากๆ เพื่อช่วยขับเชื้อโรคออกจากร่างกาย
กรณีศึกษา
จากกรณีศึกษา ผู้ป่วยรักษา โดยได้รับยา Meropenam 1 g IV q 8 hr. ตามเเผนการรักษา
ความหมาย
คือ ภาวะการติดเชื้อที่ส่วนใดส่วนหนึ่ง ของระบบทางเดินปัสสาวะตั้งเเต่กรวยไตไปจนถึงรูเปิดของท่อปัสสาวะ การวินิจฉัยตรวจพบเชื้อเเบคทีเรีย ถ้ามากกว่า 10 กำลัง 5 กลุ่ม ต่อมิลลิลิตร โดยที่ผู้ป่วยอาจมีอาการหรือไม่มีก็ได้
อาการ
กรณีศึกษา
จากกรณีศึกษาผู้ป่วย
-มีอาการไข้ หนาวสั่น
-ปัสสาวะออกน้อย 400 ซีซี/วัน มีสีเหลืองเข้ม
-ผลตรวจทางห้องปฏิการที่ผิดปกติ
ผลตรวจ Urine analysis วันที่ 29/4/66 :
Appearance : Turbid
Urine chem blood test 3+ /HPF
Red blood cell 2-3 Cells/HPF
White blood cell 3-5 Cells/HPF
Bacteria Numberous /HPF
ผลตรวจ CBC 1/5/66 :
WBC count 15000 cells/mm.3
Neutrophils 84 %
Lymphocytes 11 %
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 2
-เเบบเเผนการปัสสาวะเปลี่ยนเเปลงเนื่องจากมีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ข้อมูลสนับสนุน
S:ผู้ป่วยบอกว่า “มีไข้ ตัวร้อน หนาวสั่น เเละปัสสาวะไม่ค่อยออก”
O: Retain foley catheter เบอร์ 16
O: ปัสสวะออกน้อย ปริมาณ 400 ml มีสีเหลืองเข้ม ลักษณะใส ไม่ตกตะกอน
O: ตรวจร่างกายพบ Bladder Full
O: ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ วันที่ 1/5/66 ผลตรวจ CBC ค่า WBC count 15000 cells/mm.3 Hi, ค่า Neutrophils 84 % Hi, ค่า Lymphocytes 11 % Low
จุดมุ่งหมาย
สามารถระบายปัสสาวะได้ปกติ
เกณฑ์การประเมิน
ไม่มีอาการเเละอาการเเสดงของการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะคือ มีไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้อาเจียน ปัสสาวะขุ่น ปัสสาวะปนเลือด เป็นต้น
ปัสสาวะออกดี ปริมาณ 600 – 1,200 มิลลิลิตรต่อวัน
มีสีเหลืองอ่อน ลักษณะใส ไม่ตกตะกอน
ค่า Vital signs อยู่ในเกณฑ์ปกติ : T = 36.5-37.4 องศาเซลเซียส P = 80-100 ครั้ง/นาที R = 16-24 ครั้ง/นาที Bp = 90/60-120/80 mmHg
กิจกรรมการพยาบาล
ดูเเลให้ได้รับสารน้ำให้เพียงพอในเเต่ละวันอย่างน้อย 2000 ซีซี (เวรเช้า 1000 ซีซี, เวรบ่าย 600 ซีซี, เวรดึก 400 ซีซี)
ดูเเลทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกทุกครั้งหลังการขับถ่าย
ดูเเลการใส่สายสวนปัสสาวะ
3.1 ดูเเลถุง Urine bag ให้อยู่ระดับต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะ
3.2 ดูเเลไม่ให้สายดึงรั้ง ไม่ให้สายหักพักงอ
3.3 ดูเเลเเละสังเกตประเมินน้ำปัสสาวะ ปริมาณ ลักษณะ กลิ่น สี
3.4 ดูเเล milking สายอยู่เสมอ เพื่อป้องกันไม่ให้มีตะกอนอุดกั้นภายในสาย
ดูเเลวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
Record I/O ดูเเลบันทึกปริมาณสารน้ำเข้า-ออกร่างกาย
ดูเเลให้ได้รับยา Meropenam 1 g IV q 8 hr. ตามเเผนการรักษาเเละติดตามอาการข้างเคียงของยาคือ ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ทฤษฎี
อาการเเละอาการเเสดงขึ้นกับอายุ ตำเเหน่งเเละความรุนเเรงของการติดเชื้อ
ปวด กดเจ็บบริเวณท้องน้อย หลัง บั้นเอว
ปัสสาวะเเสบขัด ปัสสาวะลำบาก ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะไม่สุด กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะมีกลิ่น/สีผิดปกติ เช่น ขุ่น มีตะกอน มีเลือดปน โดยผู้ป่วยอาจมีไข้หรือไม่มีไข้ร่วมด้วยก็ได้
สาเหตุเเละปัจจัยเสี่ยง
ทฤษฎี
การติดเชื้อเเบคทีเรีย เช่นอีโคไล (E.Coli) เคล็บซิลลา (Klebsiella) ซูโดโมแนส (Pseudomonas) และเอนเทอโรแบกเตอร์ (Enterobacter) ซึ่งแบคทีเรียเหล่านี้มักแพร่มาจากทางเดินอาหารและช่องคลอด โดยปนเปื้อนมากับอุจจาระหรือในขณะมีเพศสัมพันธ์
การกลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน ทำให้เชื้อโรคในปัสสาวะเจริญเติบโตได้ดี
การดูแลรักษาสุขอนามัยบริเวณอวัยวะเพศไม่ดี ทำให้มีโอกาสติดเชื้อจากช่องคลอดและทวารหนักได้
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน เมื่อฮอร์โมนเพศหญิงลดลงทำให้ความชุ่มชื้นบริเวณเยื่อบุช่องคลอดและเยื่อบุท่อปัสสาวะซึ่งช่วยป้องกันการติดเชื้อลดลงตามไปด้วย
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หากควบคุมโรคได้ไม่ดีก็มีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายเนื่องจากร่างกายมีภูมิต้านทานโรคต่ำอยู่แล้ว
ผู้ป่วยที่ต้องรับประทานยากดภูมิต้านทาน
การใส่คาสายสวนปัสสาวะเป็นเวลานาน
การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ หรือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การใช้ยาปฏิชีวนะสวนล้างทำความสะอาดช่องคลอด จะทำให้เชื้อแบคทีเรียชนิดดีที่ป้องกันเชื้อโรคหายไป จึงเกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย
กรณีศึกษา
จากกรณีศึกษาผู้ป่วย
-เป็นโรคเบาหวาน มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง 250-350 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
-มีการติดเชื้อเเบคทีเรีย ผลตรวจ Blood Hemoculture วันที่ 30/4/66 ตรวจพบเชื้อ Ecoli
พยาธิสภาพ
คือ การอักเสบของระบบทางเดินปัสสาวะซึ่งมีสาเหตุจากการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยพบตั้งแต่ท่อปัสสาวะไปจนถึงไต ส่วนมากแล้วใหญ่มักจะเกิดขึ้นบริเวณทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง ซึ่งได้แก่กระเพาะปัสสาวะ (bladder) เรียกว่า "Cystitis" และ ท่อปัสสาวะ(urethra -ท่อที่ลำเลียงน้ำปัสสาวะออกไปจากร่างกายเรียกว่า"Urethritis" ส่วนการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบน ได้แก่ บริเวณ ไต(kidney) เรียกว่า''Pyelonephritis" และ ท่อไต (ureter)ทำให้เกิดโรคกรวยไตอักเสบก็สามารถเกิดขึ้นได้เช่นกันแต่จะพบได้น้อยกว่าแต่หากส่วนนี้มีการติดเชื้ออาการจะรุนแรงกว่าการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง โดยคนไข้มักจะมีอาการไข้ ปัสสาวะขัด ร่วมกับปวดหลัง อาจนำไปสู่การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะได้
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 4
-มีภาวะซีด เนื่องจากประสิทธิภาพการทํางานของไตลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
S: ผู้ป่วยบอกว่า"สีผิวซีด เเบบนี้มานานเเล้ว"
O: ตรวจร่างกาย ผิวซีด เยื่อบุตาบนล่างซีด Capillary refill มากกว่า 2 วินาที
O: ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ วันที่ 1/5/66
ผลตรวจ CBC
ค่า Hemoglobin 11.1 g/dl Low, ค่า Hematocrit 34.1 % Low, ค่า M.C.H 26.2 FL Low
ผลตรวจ Electrolyte
ค่า eGFR 105.3 ml/min/1.73 m2
Stage GFR Stage 1
จุดมุ่งหมาย
ผู้ป่วยมีภาวะซีดลดลง
เกณฑ์การประเมิน
ไม่มีอาการเเละอาการเเสดงของภาวะซีด เช่น อ่อนเพลีย เหนือยง่ายอไม่มีเเรง เวียนศีรษะ หายใจตื้น หอบ หัวใจเต้นเร็ว มีอาการซีดตามปลายมือปลายเท้า เยื่อบุตาซีด เป็นต้น
ค่า Vital signs อยู่ในเกณฑ์ปกติ : T = 36.5-37.4 องศาเซลเซียส P = 80-100 ครั้ง/นาที R = 16-24 ครั้ง/นาที Bp = 90/60-120/80 mmHg
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการมีค่าปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการเเละอาการเเสดงของภาวะซีด เช่น อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ไม่มีเเรง เวียนศีรษะ หอบ หายใจตื้น หายใจเร็ว มีอาการซีดตามปลายมือปลายเท้า เยื่อบุตาซีด เป็นต้น
ดูเเลให้ผู้ป่วยพักผ่อนอยู่บนเตียงเเละงดทำกิจกรรมต่างๆที่ทำให้เหนื่อยง่าย
ดูเเลวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ดูเเลให้ได้รับอาหารที่จำเป็นต่อการสร้างเม็ดเลือดเเดง เช่น ธาตุเหล็ก ได้เเก่ นม ไข่เเดง ตับ ผักใบเขียว เป็นต้น
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hyperglycemia
พยาธิสภาพ
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง (hyperglycemia) ในทางคลินิกหมายถึงการมีระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่า 180 มิลลิกรัม/เดซิลิตร เป็นเวลานานเกินกว่า 2 ชั่วโมง โดยอาจจะไม่เกิดอาการแสดงทางคลินิก อาการแสดงทางคลินิกจะเริ่มพบได้เมื่อ ระดับน้ำตาลในเลือดมีค่าสูงประมาณ 270-360 มิลลิกรัม/เดซิลิตร และหากปล่อยให้ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงนาน จะส่งผลทำให้เกิดอันตรายต่ออวัยวะสำคัญได้ และอาจจะรุนแรงจนเกิดภาวะเลือดเป็นกรดจากคีโตน (Diabetes ketoacidosis ; DKA) หรือภาวะไฮเปอร์ไกลซีมิกไฮเปอร์ออสโมล่า (HHS) น้ำตาลในเลือดคนปกติและในผู้ป่วยเบาหวานที่ควรจะควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ได้ ควรมีระดับน้ำตาลในเลือดก่อนอาหารเช้าอยู่ในช่วง 90-130 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง (เฉียบพลัน)
เเบ่งเป็น 2 ภาวะ
ภาวะไฮเปอร์ไกลซีมิกไฮเปอร์ออสโมล่า (HHS)
-เป็นภาวะที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงมากกว่าหรือเท่ากับ 600 มิลลิกรัม/เดซิลิตร มักพบในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เนื่องจากในภาวะนี้ ยังคงมีฮอร์โมนอินซูลินอยู่ในระดับที่ไม่ก่อให้เกิดการสลายไขมันมาเป็นพลังงาน
ภาวะเลือดเป็นกรดจากคีโตน (Diabetes ketoacidosis ; DKA) -เป็นภาวะที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกิน 250 มิลลิกรัม/เดซิลิตร จากการขาดอินซูลิน
ความหมาย
เป็นภาวะที่ร่างกายควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ จะสูงประมาณ 240 มิลลิกรัม/เดซิลิตร หรือสูงกว่านี้ตลอดเวลา
สาเหตุเเละปัจจัยเสี่ยง
กรณีศึกษา
จากกรณีศึกษาผู้ป่วย ควบคุมเบาหวานได้ไม่ดี เเละมีภาวะติดเชื้อในร่างกาย
-ค่า DTX วันที่ 30/4/66 = 263 mg%
ค่า DTX วันที่ 1/5/66 = 365 mg%
ค่า DTX วันที่ 2/5/66 = 260 mg%
-ผลตรวจทางห้องปฏิการที่ผิดปกติ ผลตรวจ CBC วันที่ 1/5/66 :
WBC count 15000 cells/mm.3 Neutrophils 84 % Lymphocytes 11 %
ทฤษฎี
ควบคุมเบาหวานได้ไม่ดี รับประทานอาหารมากเกินไป ขาดการออกกำลังกาย
การเจ็บป่วยรุนแรง เช่นกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หรือมีภาวะติดเชื้อ
ได้รับยาต้านอินซูลิน เช่น สเตียรอยด์ ยาขับปัสสาวะ
รับประทานยา หรือฉีดอินซูลินไม่สม่ำเสมอ
ภาวะเเทรกซ้อน
ทฤษฎี
การทำงานของไตเสื่อมลงจนอาจเกิดไตวาย
โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งอาจเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดอาการหัวใจวาย โรคหลอดเลือดสมอง หรือโรคเส้นเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน
เส้นประสาทถูกทำลายและทำงานผิดปกติ ทำให้รู้สึกปวดแสบปวดร้อน เจ็บเหมือนเข็มทิ่ม และการรับรู้สึกความรู้สึกเปลี่ยนแปลงไป
โรคทางตาหรือเกิดความผิดปกติกับดวงตาที่เรียกว่าเบาหวานขึ้นตา เช่น จอประสาทเสียหาย โรคต้อหิน โรคต้อกระจก เป็นต้น
ผิวหนังเกิดการติดเชื้อ
มีปัญหาเกี่ยวกับเท้า เนื่องจากเส้นประสาทถูกทำลายและเลือดไหลเวียนไม่สะดวก เช่น เท้าติดเชื้อหรือไร้ความรู้สึก บางรายอาจรุนแรงจนต้องตัดขาทิ้ง
เกิดปัญหาเกี่ยวกับกระดูกและข้อต่อ
โรคฟันและเหงือก
กรณีศึกษา
จากการณีศึกษาผู้ป่วยไม่เกิดภาวะเเทรกซ้อนจากน้ำตาลในเลือดสูง
อาการ
ทฤษฎี
ปัสสาวะบ่อยมาก ปัสสาวะกลางคืน
กระหายน้ำ เเละดื่มน้ำมาก
หิวบ่อย รับประทานจุเเต่น้ำหนักลด
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
ถ้าเป็นเเผลจะหายยาก มีการติดเชื้อตามผิวหนัง คันตามผิวหนัง
ตาพร่ามัว มองเห็นไม่ชัด ชาปลายมือปลายเท้า
หายใจลำบาก
กรณีศึกษา
จากกรณีศึกษาผู้ป่วย มีประวัติน้ำหนักลด มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย หายใจลำบาก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 3
-ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ เนื่องจากตับอ่อนทำงานไม่มีประสิทธิภาพ
ข้อมูลสนับสนุน
S:ผู้ป่วยบอกว่า"รับประทานอาหารปกติ เเต่ไม่ได้ควบคุมน้ำตาล เเค่ลดปริมาณ เเละชอบรับประทานผลไม้รสหวาน เเละชาเขียว
S:ผู้ป่วยบอกว่า"ช่วงที่เป็นเบาหวานมีน้ำหนักลดลงเรื่อยๆ"
O:ค่า DTX วันที่ 30/4/66 = 263 mg%
O:ค่า DTX วันที่ 1/5/66 = 365 mg%
O:ค่า DTX วันที่ 2/5/66 = 260 mg%
จุดมุ่งหมาย
-ผู่ป่วยไม่เกิดภาวะ Hyperglycemia
เกณฑ์การประเมิน
ค่าระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ไม่สูงกว่า 199 มิลลิกรัม / เดซิลิตร เเละไม่ต่ำกว่า 130 มิลลิกรัม / เดซิลิตร
ไม่มีอาการเเละอาการเเสดงของภาวะHyperglycemia เช่น มีอาการหน้าเเดง ตัวร้อนชีพจรเต้นเร็ว กระหายน้ำ ความดันโลหิตสูง
ค่า Vital signs อยู่ในเกณฑ์ปกติ : T = 36.5-37.4 องศาเซลเซียส P = 80-100 ครั้ง/นาที R = 16-24 ครั้ง/นาที Bp = 90/60-120/80 mmHg
กิจกรรมการพยาบาล
ดูเเลให้คำเเนะนำผู้ป่วยเกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเเละเหมาะสมกับโรค เช่น อาหารที่ควบคุมปริมาณน้ำตาล
ดูเเลObserve อาการ Hyperglycemia เช่นกระสับกระส่าย หน้าเเดง คลื่นไส้ อาเจียน กระหายน้ำ ปัสสาวะมาก ซึม ไม่รู้สึกตัว ชีพจรเต้นเร็ว เป็นต้น
ดูเเลเจาะ DTX Bid ac ตามเเผนการรักษาของเเพทย์ ค่าระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในช่วง 80-200 มิลลิกรัม / เดซิลิตร
-ถ้าค่าระดับน้ำตาลในเลือดน้อยกว่า 70 มิลลิกรัม / เดซิลิตร ดูเเลให้ได้รับ 50 % glucose IV เเต่
-ถ้าค่าระดับน้ำตาลในเลือดสูงมากกว่า 200 มิลลิกรัม / เดซิลิตร ดูเเลให้ได้รับยาฉีด Regular insulin ตามเเผนการรักษา ยาเริ่มออกฤทธิ์ 30-60 นาที
ดูเเลวัด Vital signs ทุก 4 ชั่วโมง
ดูเเลให้ได้รับ Mixtard 30-0-20 sc ac ตามเเผนการรักษาของเเพทย์ เเละสังเกตอาการภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ เช่น หน้ามืด ใจสั่น เหงื่อออก ชาปลายมือปลายเท้า เป็นต้น
การรักษา
ทฤษฎี
ปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหารและดื่มน้ำให้มากขึ้น
ออกกำลังกายเป็นประจำ
เปลี่ยนชนิดของยา
ยาบางชนิดมีผลต่อระดับน้ำตาลในเลือด ผู้ป่วยโรคเบาหวานหรือโรคอื่นๆ ที่มีภาวะนี้อาจได้รับการปรับเปลี่ยนชนิดและปริมาณยาที่ใช้ เพื่อลดผลข้างเคียงและความเสี่ยงด้านสุขภาพ
ควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
กรณีศึกษา
จากกรณีศึกษา ผู้ป่วยปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เเละพยายามควบคุมระดับน้ำตาลไม่ให้สูงมาก
ทฤษฎี
ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
ภาวะแทรกซ้อนแบบเรื้อรัง คือเกิดในระยะยาว ส่วนใหญ่เป็นความเสื่อมของเส้นเลือดตามอวัยวะต่างๆในร่างกาย ได้แก่
สมอง หัวใจ ไต ตาและเส้นเลือดที่ขา เช่น
เบาหวานขึ้นตา (Diabetic Retinopathy)
โรคไตเสื่อม ไตวาย
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดสมองตีบ ตัน
โรคเบาหวานที่เท้า แผลเบาหวานที่เท้า
โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย
ภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาท
ภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลัน ได้แก่
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia)
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงรุนแรง หรือเลือดเป็นกรด (DKA)
พยาธิสภาพ
กรณีศึกษา
จากกรณีศึกษา
-ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 1 (type 1 diabetes)
-เป็นเบาหวานตั้งเเต่อายุ 25 ปี
ทฤษฎี
เบาหวานเกิดจากความผิดปกติของร่างกายที่มีการผลิตฮอร์โมนอินซูลินไม่เพียงพอ อันส่งผลทำให้ระดับน้ำตาลในกระเเสเลือดสูงเกิน โรคเบาหวานจะมีอาการเกิดขึ้นเนื่องมาจากการที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้อย่างเหมาะสม ซึ่งโดยปกติน้ำตาลจะเข้าสู่เซลล์ร่างกายเพื่อใช้เป็นพลังงาน ภายใต้การควบคุมของฮอร์โมนอินซูลิน ซึ่งผู้ที่เป็นโรคเบาหวานร่างกายจะไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลที่เกิดขึ้นทำให้น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ในระยะยาวจะมีผลในการทำลายหลอดเลือด
โรคเบาหวานเเบ่งเป็น 4 ชนิด
โรคเบาหวานชนิดที่ 1 (type 1 diabetes) เกิดจากมีการทำลายเบต้าเซลล์ของตับอ่อน ทำให้ร่างกายขาดอินซูลินโดยสิ้นเชิง อาการเกิดขึ้นเฉียบพลันรวดเร็ว เกิดภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูง ผู้ป่วยส่วนใหญ่รูปร่างผอม พบในเด็กหรือผู้ที่มีอายุน้อย ส่วนใหญ่น้อยกว่า 30 ปี
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (type 2 diabetes) เกิดจากการที่ร่างกายหลั่งอินซูลินลดลง หรือการที่ร่างกายเกิดภาวะดื้ออินซูลินหรือทั้ง 2 อย่างร่วมกัน พบได้บ่อย ส่วนมากพบในผู้ที่อายุมากกว่า 30 ปี รูปร่างท้วมหรืออ้วน
โรคเบาหวานชนิดอื่น ๆ (other specific type of diabetes) คือ โรคเบาหวานที่เกิดจากสาเหตุอื่น ๆ ที่มีสาเหตุเฉพาะเจาะจง เช่น ความผิดปกติทางพันธุกรรมของการทำงานเบต้าเซลล์ของตับ ความผิดปกติทางพันธุกรรมการทำงานของอินซูลิน โรคของตับอ่อน โรคทางต่อมไร้ท่อ ยาหรือสารเคมีบางชนิด การติดเชื้อ โรคทางพันธุกรรมอื่น
โรคเบาหวานที่พบขณะตั้งครรภ์ (gestational diabetes mellitus [GDM]) ภาวะที่ระดับน้ำตาลสูง ขณะตั้งครรภ์ เนื่องจากสร้างฮอร์โมนที่ต้านฤทธิ์การทำงานของอินซูลิน และกลับมาสู่ภาวะปกติเมื่อการตั้งครรภ์สิ้นสุดลง ซึ่งทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งมารดา และทารกในครรภ์ได้
ความหมาย
โรคเบาหวาน คือ ภาวะที่ผิดปกติของร่างกายอันเกิดจากความผิดปกติในการทำงานของตับอ่อนในการอินซูลิน (Insulin) ซึ่งอาจเป็นความผิดปกติในการสร้างฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) ได้น้อยลงกว่าเดิมหรือไม่สามารถสร้างได้เลย
สาเหตุเเละปัจจัยเสี่ยง
ทฤษฎี
สาเหตุของโรคเบาหวาน
กรรมพันธุ์
น้ำหนักเกิน ความอ้วน ขาดการเคลื่อนไหว ขาดการออกกำลังกาย
อายุที่มากขึ้น มีโอกาสเป็นเบาหวานได้มากขึ้น
โรคของตับอ่อน เช่น ตับอ่อนอักเสบ ได้รับการผ่าตัดตับอ่อน
การตั้งครรภ์ เนื่องจากมีการสร้างฮอร์โมนจากรกหลายชนิด ซึ่งมีผลต่อตับอ่อน
การติดเชื้อไวรัสบางชนิด เช่น หัด หัดเยอรมัน คางทูม ซึ่งมีผลต่อตับอ่อน
ความเครียดเรื้อรัง
การได้รับยาบางชนิด ทำให้มีการสร้างน้ำตาลมากขึ้นหรือการตอบสนองของอินซูลินได้ไม่ดี
การตั้งครรภ์ เนื่องจากมีการสร้างฮอร์โมนจากรกหลายชนิด ซึ่งมีผลยับยั้งการทำงานของอินซูลิน
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร เเละการออกกำลังกาย
กรณีศึกษา
จากกรณีศึกษา
1.เกิดจากตับอ่อนทำงานไม่มีประสิทธิภาพจากการเป็นเบาหวานมานาน 10 ปี
เกิดจากการไม่ควบคุมการรับประทานอาหารของผู้ป่วย
อาการ
ทฤษฎี
อาการเเละอาการเเสดงของโรคเบาหวาน
ปัสสาวะบ่อย เเละจำนวนมาก (polyuria)
ดื่มน้ำมาก (polydipsia)
น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ ผอมลง (weight loss)
หิวบ่อย เเละรับประทานอาหารมาก (polyphagia)
ตาพร่ามัว เห็นภาพไม่ชัด
คันตามผิวหนัง
เป็นแผลง่าย หายยาก
ชาปลายมือ ปลายเท้า
กรณีศึกษา
จากกรณีศึกษาผู้ป่วย น้ำหนักตัวลดลง เเละผอมลง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 5
-ผู้ป่วยดูเเลตนเองไม่ถูกต้อง เนื่องจากพร่องความรู้ในการดูเเลตนเอง
ข้อมูลสนับสนุน
S:ผู้ป่วยบอกว่า"รับประทานอาหารปกติ เเต่ไม่ได้ควบคุมน้ำตาล เเค่ลดปริมาณ เเละชอบรับประทานผลไม้รสหวาน เเละชาเขียว"
S:ผู้ป่วยบอกว่า"ช่วงที่เป็นเบาหวานมีน้ำหนักลดลงเรื่อยๆ"
O:ผู้ป่วยทราบวิธีการดูเเลตนเองน้อย ไม่ทราบถึงภาวะเเทรกซ้อนของโรคเบาหวาน
จุดมุ่งหมาย
ผู้ป่วยมีความรู้ในการดูเเลตนเอง
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยสามารถเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับโรคได้
ค่าระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 126 mg%
ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะเเทรกซ้อนของโรค
กิจกรรมการพยาบาล
เเนะนำให้ผู้ป่วยดูเเลควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ดูเเลให้รับประทานอาหารให้ตรงเวลาครบ 3 มื้อ ลดการรับประทานอาหารหวาน มัน เค็ม
ให้ความรู้เกี่ยวกับอาการ สาเหตุ ภาวะเเทรกซ้อนของโรคเบาหวาน
เเนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายโดยกระดกส้นเท้า ปลายเท้า การยกเเละกางเเขนออก วันละประมาณ 20 นาที
ดูเเลให้รับประทาน หรือฉีดยาตามเเผนการรักษาของเเพทย์ เเละมาพบเเพทย์ตามนัดทุกครั้ง
การรักษา
ทฤษฎี
การรักษาโรคเบาหวานด้วยอินซูลิน
การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน
ควบคุมอาหารที่รับประทานอาหารอย่างเคร่งครัด โดยต้องรับประทานอาหารที่ มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ และรับประทานให้ครบวันละ 3 มื้อ รับประทานตรงเวลา ไม่งดมื้อใดมื้อหนึ่ง รับประทานในปริมาณที่ใกล้เคียงกันทุกมื้อทุกวัน ไม่กินจุบจิบ ไม่เป็นเวลา ในแต่ละมื้อ ควรรับประทานอาหารที่มีทั้งแป้ง เนื้อสัตว์ ไขมัน และผักผลไม้ หลีกเลี่ยงการกินน้ำตาล น้ำอัดลม เครื่องดื่มชูกำลัง ขนมหาน ผลไม้เชื่อมแช่อิ่ม ผลไม้ที่มีรสหวาน ส่วนอาหารที่ควรหลีกเลี่ยง ได้แก่ ไขมัน สัตว์ เนย มันหมู เนื้อติดมัน เครื่องในสัตว์ หอยนางรม ไข่แดง ครีม กะทิ อาหารทอด
การรักษาเบาหวานด้วยยา
การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน
เช่น การเดิน, การวิ่ง, การเต้นแอโรบิค, การปั่นจักรยาน เป็นต้น
กรณีศึกษา
จากกรณีศึกษา ผู่ป่วยมียาฉีดMixtard insulin เป็นประจำทุกวัน