Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 12 การวิจัยแบบผสมผสานในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 12 การวิจัยแบบผสมผสานในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
12.1 แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยแบบผสมผสานในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความเป็นมา กระบวนทัศน์ ความหมาย และจุดมุ่งหมาย
ของการวิจัยแบบผสมผสานในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความเป็นมา
ระยะโต้แย้งทางกระบวนทัศน์ (ค.ศ. 1985-1997)
3.ระยะพัฒนาแนวทางดำเนินงาน (ค.ศ. 1989-2000)
ระยะก่อร่างแนวคิด (ค.ศ. 1950-1980)
ระยะการโน้มน้าวในฐานะที่เป็นแบบแผนโดยเฉพาะ
(ค.ศ. 2000 เป็นต้นมา)
กระบวนทัศน์
4 แนวทาง
กระบวนทัศน์แบบมีส่วนร่วม
กระบวนทัศน์การกำหนดสร้าง
กระบวนทัศน์แบบปฏิบัตินิยม
กระบวนทัศน์ของปฏิฐานนิยม
ความหมาย
การออกแบบการวิจัยที่ได้ผสมผสานวิธีการวิจัยที่แตกต่างกันเข้าไว้ด้วยกัน เช่น การผสมผสานเทคนิควิธีการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ หรือการใช้การวิจัยเชิงทดลองในภาคสนามร่วมกับการวิจัยทางชาติพันธุ์วรรณา ในหลาย ๆ หรือทั้งหมดขององค์ประกอบ หรือขั้นตอนการวิจัย ได้แก่ วิธีวิทยา คำถามการวิจัย ประเภทการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปอ้างอิง เป็นต้น เพื่อที่จะสามารถตอบปัญหาการวิจัยได้ดีกว่าการใช้เพียงวิธีการเดียว
จุดมุ่งหมาย
เพื่อเป็นการริเริ่ม (initiation) เช่น ค้นหาประเด็นที่ผิดปกติ ประเด็นที่ผิดธรรมดา
เพื่อเป็นการพัฒนา (development)
เพื่อเป็นการเสริมให้สมบูรณ์หรือเติมให้เต็ม (complement)
เพื่อเป็นการขยาย (expansion) ให้งานวิจัยมีขอบข่ายที่กว้างขวางมากขึ้น
เพื่อเป็นการตรวจสอบสามเส้า (triangulation) ให้เพิ่มความเชื่อมั่นในผลของการวิจัย
ความสำคัญ ลักษณะสำคัญ ประเภท ข้อดีและข้อควร
คำนึง ของการวิจัยแบบผสมผสานในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความสำคัญ
การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพต่างก็มีจุดเด่นในตนเอง สามารถนำจุดเด่นมาใช้ในการแสวงหาความรู้ความจริงได้ถูกต้องแม่นยำยิ่งขึ้น
การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพต่างก็มีจุดด้อยในตนเอง ผู้วิจัยสามารถใช้จุดเด่นของการวิจัย
เชิงปริมาณมาแก้ไขจุดด้อยของการวิจัยเชิงคุณภาพ
การใช้ผลการวิจัยจากวิธีหนึ่งไปช่วยพัฒนาการวิจัยอีกวิธีหนึ่ง
สามารถน าผลผลิตจากการวิจัยแบบผสมผสานมาสร้างความรู้ความจริงที่สมบูรณ์ส าหรับใช้ในการ
ปรับเปลี่ยนทฤษฎีหรือการปฏิบัติงาน
ผลการวิจัยจากวิธีการวิจัยแบบผสมผสานสามารถเสริมต่อกัน
ลักษณะสำคัญ
ใช้แนวคิดเชิงปรัชญาหรือกระบวนทัศน์หลากหลายร่วมกัน
เน้นความหลากหลายในทุกระดับของกระบวนการวิจัย
รวมหรือผสมผสานข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
ยึดคำถามหรือปัญหาวิจัยเป็นหลักในการกำหนดวิธีการที่จะนำมาใช้ในการศึกษา
ใช้วิธีเก็บรวบรวมและวิธีวิเคราะห์ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเพื่อตอบคำถามวิจัย
ใช้วิธีรวบรวมข้อมูลหลาย ๆ วิธีเพื่อเสริมซึ่งกันและกัน
ประเภท
การวิจัยแบบผสมผสานแบบสามเส้า
การวิจัยแบบผสมผสานแบบขั้นตอนเชิงอธิบาย แบบขั้นตอนเชิงสำรวจ และแบบรองรับภายใน
ข้อดี
ทำให้สามารถตอบคำถามการวิจัยได้ละเอียด ชัดเจนมากขึ้น ก่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในประเด็นที่ศึกษาอย่างกว้างขวางและลุ่มลึก
ข้อควรคำนึง
ต้องมีความรู้และประสบการณ์ในการทำวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ถูกต้อง ใช้เวลา และทรัพยากรในการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณมากกว่าการทำวิจัยเชิงเดี่ยว
กระบวนการวิจัยแบบผสมผสานในการส่งเสริมและ
พัฒนาการเกษตร
8 ขั้นตอน
5) วิเคราะห์ข้อมูล
6) ยืนยันความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้รับ
4) เก็บรวบรวมข้อมูลตามกระบวนการวิจัย
7) ตีความข้อมูลที่ได้รับจากขั้นตอนที่ 4 และ 5
3) เลือกออกแบบการวิจัย
8) เขียนรายงานการวิจัย
2) พิจารณาจุดมุ่งหมายของการออกแบบการวิจัยแบบผสมผสาน
1) พิจารณาความเหมาะสมของการใช้การวิจัยแบบผสมผสาน
12.2 การวิจัยแบบผสมผสานแบบแผนสามเส้า
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรกัน
การวิจัยแบบแผนสามเส้ารูปแบบลู่เข้าในการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
เป็นการใช้วิธีการทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในการหาคำตอบในเรื่องเดียวกัน ในเวลาพร้อม ๆ กัน แต่แยกการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล หลังจากนั้นจึงนำผลการวิจัยที่ได้มาเปรียบเทียบกันว่ามีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
การวิจัยแบบแผนสามเส้ารูปแบบแปลงข้อมูลในการ
ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เป็นการดำเนินงานวิจัยที่คล้ายกับแบบแผนสามเส้า
:รูปแบบลู่เข้า ในแง่ที่ใช้วิธีการทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพแยกจากกันในการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แต่มีความแตกต่าง เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลขั้นต้นเสร็จแล้วจะแปลงข้อมูลที่ได้จากวิธีการวิจัยแบบหนึ่งไปสู่ข้อมูลการวิจัยอีกแบบหนึ่ง หลังจากนั้นจึงวิเคราะห์ข้อมูลทั้ง 2 ชุดใหม่อีกครั้ง เพื่อทำการเปรียบเทียบและหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2 ชุดนั้น แล้วตีความผลการวิจัยที่ได้ภายหลังการวิเคราะห์ข้อมูล 2 ชุดนี้
การวิจัยแบบแผนสามเส้ารูปแบบการตรวจสอบความตรงของข้อมูลเชิงปริมาณในการส่งเสริมและ
พัฒนาการเกษตร
เป็นการดำเนินงานวิจัยที่ใช้ทั้งวิธีการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยในการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณจะใช้แบบสำรวจ หรือแบบสอบถามหรือแบบสัมภาษณ์ ในส่วนที่เป็นคำถามปลายปิด ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพจะใช้ส่วนที่เป็นคำถามปลายเปิด แล้วนำข้อมูลที่ได้จากแต่ละส่วนไปวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
การวิจัยแบบแผนสามเส้ารูปแบบพหุระดับในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเด็นเดียวกันไปพร้อม ๆ กัน แต่ผู้ให้ข้อมูลจะเกี่ยวข้องกับหน่วยงานหรือองค์กรลดหลั่นกันไปตามระดับต่าง ๆ ของการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เพื่อพิจารณาว่าหากใช้วิธีการเก็บข้อมูลที่แตกต่างกันจากผู้ให้ข้อมูลที่ต่างกันนั้น ข้อมูลที่ได้ทั้งหมดเมื่อเป็นการการดำเนินงานวิจัยที่ใช้วิธีการแตกต่างกัน ทำการเก็บข้อมูลในนำมาวิเคราะห์ ตีความสรุปแล้วจะทำให้ได้ข้อค้นพบหรือความจริงของประเด็นที่ศึกษามีความลึกซึ่งรอบด้านมากขึ้น
12.3 การวิจัยแบบผสมผสานแบบขั้นตอนเชิงอธิบาย
แบบขั้นตอนเชิงสำรวจแบบรองรับภายในในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยแบบผสมผสานแบบขั้นตอนเชิงอธิบาย
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แบบแผนการวิจัย 2 ระยะต่อเนื่อง
วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ
วิธีการเชิงคุณภาพ
รูปแบบ
แบบแผนการวิจัยแบบขั้นตอนเชิงอธิบาย
รูปแบบอธิบายติดตาม
แบบแผนการวิจัยแบบขั้นตอนเชิงอธิบาย
รูปแบบการเลือกผู้เข้าร่วมการวิจัย
การวิจัยแบบผสมผสานแบบขั้นตอนเชิงสำรวจ
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แบบแผนการวิจัย 2 ระยะต่อเนื่อง
วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ
วิธีการเชิงคุณภาพ
รูปแบบ
แบบแผนการวิจัยแบบขั้นตอนเชิงสำรวจ
รูปแบบการพัฒนาเครื่องมือ
แบบแผนการวิจัยแบบขั้นตอนเชิงสำรวจ
รูปแบบการพัฒนาสารบบ
การวิจัยแบบผสมผสานแบบรองรับภายในในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แบบแผน
การศึกษาระยะเดียว (one-phase study)
การศึกษา 2 ระยะ (two-phase study) ต่อเนื่องกัน
รูปแบบ
2) แบบรองรับภายใน
รูปแบบการทดลอง 2 ระยะ
วิธีการเชิงคุณภาพเป็นหลัก
3) แบบรองรับภายใน
รูปแบบการทดลอง 2 ระยะ
วิธีการเชิงปริมาณเป็นหลัก
1) แบบรองรับภายใน:
รูปแบบการทดลองระยะเดียว
วิธีการเชิงปริมาณเป็นหลัก
4) แบบรองรับภายใน
รูปแบบสหสัมพันธ์