Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Upper gastrointestinal bleeding เตียง 17 - Coggle Diagram
Upper gastrointestinal bleeding
เตียง 17
อาการและอาการแสดง
ทฤษฎี
อาการที่มีเลือดออกในทางเดินอาหาร : อาเจียนเป็นเลือดสด ถ่ายอุจจาระสีดำ ซีด อ่อนเพลียอย่างรวดเร็ว เหงื่อออก ปวดศรีษะ หน้ามืด มือเท้าเย็น เป็นตะคริว ชีพจรช้า/เร็ว ความดันเลือดต่ำ ใจสั่น หิวน้ำ หายใจเร็วหมดสติ อาจมีอาการปวดท้องหรือไม่มีอาการนำมาก่อน ตรวจหน้าท้องแข็งเกร็งเป็นตะคริว ปวดศรีษะและตรวจเลือดพบเม็ดเลือดแดงน้อย
อาการของภาวะช็อกจากการเสียเลือดมาก : ซีด ความดันเลือดต่ำ ซึมลง อ่อนเพลียอย่างรวดเร็ว หน้ามืด เป็นตะคริว หมดสติ
กรณีศึกษา : อุจจาระสีดำ ซึม หายใจเร็ว ความดันเลือดต่ำ ซีด
สาเหตุ
ทฤษฎี : เกิดจากความผิดปกติของเยื่อบุดาดผนังกระเพาะอาหาร มีการขับหลั่งกรดและน้ำย่อยในกระเพาะอาหารมากเกินไป ความเครียด การรับประทานยาแก้ปวดหรือยาสเตียรอยด์ ดื่มสุรา สูบบุหรี่ รับประทานอาหารหารหมักดอง อาหารรสเผ็ด โรคตับเรื้อรัง Variceal bleeding
กรณีศึกษา : เลิกดื่มเหล้า สูบบุหรี่ ได้ 69 ปี
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ : การใช้ยาแก้ปวด NSAIDs รวมทั้ง aspirin มีประวัติดื่มสุรา ดื่มกาแฟ/ชา สูบบุหรี่ ท้องผูก ท้องเสีย ความเครียด และอายุ ยิ่งเป็นผู้สูงอายุอาจมีความเสี่ยงการป้องกันกรดเสื่อมลง
เคยมีประวัติดื่มเหล้า สูบบุหรี่ ท้องผูก ความเครียด อายุ 104 ปี
การตรวจพิเศษ : EGD และการทำ barium enema
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : HCT, Hb, BUN, Cr เพื่อช่วยประเมินการสูญเสียเลือด PT, PTT, INR เพื่อดูความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด stool occult blood จะพบเม็ดเลือดแดงในอุจจาระ
Hct 27.2 %
การตรวจร่างกาย : อาการซีด อาการแสดงภาวะช็อก เช่น ซึมลง ชีพจรช้า/เร็ว ความดันเลือดต่ำ หายใจเร็ว เหงื่อออก ตัวเย็น อาเจียนเป็นเลือด ถ่ายดำ
ซึม อุจจาระสีดำ เยื่อบุตาขาวซีด capillary refill 3 วินาที หายใจเร็ว 118 ครั้ง/นาที BP 82/55 mmHg.
การรักษาและการพยาบาล
ทฤษฎี
2.การผ่าตัดในกรณีฉุกเฉินเลือดออกไม่หยุด
3.การใช้ยา ได้แก่ ยาลดการหลั่งกรด เช่น H2 receptor antagonist กลุ่ม proton Pump Inhibitor (PPI)
ควรหลีกเลี่ยงอาหารรสเผ็ด กาแฟ น้ำอัดลม ยาแก้ปวด NSAIDs หรือ ยาสเตียรอยด์
1.การรักษาตามอาการ โดยการให้สารน้ำและเลือดทดแทนอย่างรวดเร็ว งดอาหารและน้ำทางปาก
5.การพักผ่อน ควรพักผ่อนทั้งร่างกายและจิตใจ
การพยาบาล
1.NPO เว้นยา
2.NG lavage 500 ml
3.Pantoprazole 80 mg IV push then 80 mg.+NSS 100 ml rate 10 ml/hr
Transamin 2 amp IV ทุก 4 ชม.
4.ให้ PRC
5.เจาะ Hct. ทุก 8 ชม.หลังให้เลือด
พยาธิสภาพ
ทฤษฎี : ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนบน เกิดจากทางเดินอาหารอักเสบหรือเป็นแผล ตามปกติทางเดินอาหารจะมี mucosal barrier เพื่อป้องกันการย่อยตัวเอง(acid autodigestion) เมื่อมีการหลั่งกรด โดยมี prostaglandin เป็นตัวช่วยป้องกัน แต่ถ้ากลไกการป้องกันล้มเหลวหรือขาดความสมดุล จะทำให้ทางเดินอาหารอักเสบ มีการทำลายของ mucosa ทำให้เกิดอันตรายต่อเส้นเลือดเล็กๆ(small vessels) ทำให้เกิดการบวม เลือดออก และรอยถลอก เลือดที่ออกมาจะทำปฏิกิริยากับน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร จึงทำให้เลือดเป็นสีดำ ผู้ป่วยมักมาด้วยอาการอาเจียนเป็นเลือดสดหรือเลือดเก่า และถ่ายดำ
กรณีศึกษา : มีอาการบวม อุจจาระเป็นเลือด
ความหมาย
เป็นภาวะที่มีเลือดออกจากหลอดอาหารส่วนที่มีพยาธิสภาพ ไปจนถึงทางออกของกระเพาะอาหาร ทำให้เลือดสะสมคั่งค้างอยู่ในกระเพาะอาหาร เลือดที่ออกมาสัมผัสกับกรดและสิ่งขับหลั่งในกระเพาะอาหาร และทำปฏิกิริยาต่อกันจึงมีสีดำคล้ำ อย่างไรก็ตามหากเลือดออกมากในเวลาสั้น ผู้ป่วยจะอาเจียนออกมาเป็นเลือดสีแดงสดได้
ภาวะแทรกซ้อน
เสียเลือกมากจนซีดและเกิดภาวะช็อก นำไปสู่าการโคม่าและเสียชีวิต