Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 11 การพยาบาลทารกแรกเกิดปกติ, หน่วยที่ 11 การพยาบาลทารกที่ผิดปกติเ…
หน่วยที่ 11 การพยาบาลทารกแรกเกิดปกติ
การดูแลทารกแรกเกิดทันที
1.ดูแลการทำงานปอดและหัวใจ Cardiopulmonary function)
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ปอดทารกเริ่มทำงานและปรับตัวได้ จนทำงานมีประสิทธิภาพ RR, O2 sat >= 95%
การดูแลการทำงานของหัวใจ
HR >= 100 ครั้ง/นาที
ถ้า Sat drop อาจให้ O2 box 10 LPM
ควรประเมินทุก 30 min จนครบ 2 hr.
2. การดูแลควบคุมอุณหภูมิร่างกายของทารก (Support thermoregulation)
เช็ดทารกให้แห้งเ้วยผ้าอุ่นและนุ่มป้องกันก.ระเหยความร้อน
ใส่หมวกควรใส่เมื่อผมของทารกแห้งแล้ว
ดูแลใต้เครื่องให้ความอบอุ่น (Radiant warmer)
3. การระบุความเป็นบุคคลของทารก (Identify the newborn)
ป้ายชื่อ
4. การป้ายตาทารกเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
:forbidden: เพื่อป้องกันหนองใน (Neisseria gonorrhoeae) ภายใน 1 ชั่วโมงหลังคลอด :forbidden:
5. การให้วิตามินเค (Vitamin K1, Phytonadione, Mephyto, Konakion))
ใน 1 ชั่วโมงหลังเกิด ออกฤทธิ์ภายใน 1-2 ชั่วโมง
1 mg ฉีดเข้ากล้าม Vastus lateralis
ป้องกันภาวะเลือดออก ในสมอง ทารกไม่สามารถสังเคราะห์ วิตามินเคได้ เนื่องจากยังไม่มีแบคทีเรียที่เป็นเชื้อประจำถิ่นใน ลำไส้ (bacteria normal flora)
ตับจึงยังไม่สามารถสร้างFactor |I, VII IX,X
6. การดูแลสะดือ
เช็ดด้วย Povidine วนปลายถึงโคน
7. ทำความสะอาดร่างกาย
เช็ดเลือดสารคัดหลั่งต่างๆ ให้แห้ง
8. จิตสังคม
การส่งเสริมสายสัมพันธ์
Skin-to-Skin contact (SSC)
early bonding & early breastfeeding
ประเมินสำรวจร่างกายทารกอย่างรวดเร็ว
ทางเดินหายใจและ
การหายใจ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
หรือ อ่อนปวกเปียก
ครบกำหนด? ความพิการ/ผิดปกติ/Preterm?
การช่วยเหลือ - ทันที
ดูดSecretion ในปาก → จมูก
เช็ดตัว ศีรษะ ลูบหลังกระตุ้น
การดูแลเฉพาะมีความพิการรุนแรง
APGAR score
1 นาที
5 นาที
10 นาที กรณีอาการไม่คงที่
A
สีผิว (Appearance)
เขียวปลายมือปลายเท้า?
P
อัตราการเต้นของหัวใจ (Pulse or Heart rate)
ใช้ stet ฟังที่อก
G
การตอบสนองต่อการกระตุ้น (Grimace or Reflex irritability)
A
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Activity or Muscle tone)
R
การหายใจ (Respiration or Respiratory effort)
การแปลผล
7-10 คะแนน
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งและดูแลให้ความอบอุ่น
4-6 คะแนน
ดูแล ขจัดสิ่งคัดหลัง ของทางเดินหายใจ และการให้ ออกซิเจนเพิ่มเติม
0-3 คะแนน
(asphyxia) ทารกมีปัญหาทางการหายใจ ต้องช่วยเหลือโดย
การกู้ชีพ
การประเมินสภาพร่างกายของทารกแรกเกิด
การประเมินสัญญาณชีพ
อุณหภูมิ (36.5 - 37.40 C) ทาง
rectum
HR (110 -160 ครั้ง/นาที)
RR (40 - 60 ครั้ง/นาที)
การชั่งน้ำหนักทารกแรกเกิดวัด BW, HC, CC, Height
ตรวจร่างกายแบบคร่าว ๆ
ศีรษะ
ใบหน้า ตา รูปร่างปาก
นิ้วมือ นิ้วเท้า
การเคลื่อนไหวกระดูกแขนขา ไหปลาร้า
ผิวหนัง
อวัยวะเพศ
ทวารหนัก
การประเมินสภาพ ทารกแรกเกิด
ประวัติารตั้งครรภ์ การฝากครรภ์ อายุครรภ์ การเจ็บครรภ์ น้ำเดิน ระยะเวลาเจ็บครรภ์คลอด
วิธีการคลอด
ประวัติการใช้ยาของมารดา ในระยะตั้งครรภ์และในระยะคลอด
การตรวจร่างกายตามระบบภายใน 24 hr.หลังคลอด
ระบบผิวหนัง
เขียวปลายมือปลายเท้า (Acrocyanosis)
ผิวลาย (cutis marmorata)
ขนอ่อน (Lanugo)เยอะใน Prererm
อาการบวม (Edema)
จุดเลือดออก (Petechiae)
ปจบ.ไม่ค่อยมีเพราะได้ Vit k
ปานเขียว (Mongolian spot) ปกติ
ปานแดง (Hemangioma)
ผิวหนังถลอก (Desquamation of skin) มีใน Post term
ผื่นผ้าอ้อม (Erythema toxicum neonatorum)
ดูแลไม่ดีจะเป็นตุ่มหนอง
ตัวเหลือง ( Jaundice)
ศรีษะ
กระดูกกะโหลกศีรษะเกยกัน (Molding)
หายใน 24 hr.
ศีรษะบวมน้ำ (Caput succedaneum)
หายใน 2-3 วัน
ก้อนโนเลือด (Cephalhematoma)
เลือดคั่งใต้ผิวหนัง
ใบหน้า
ดูความสมมาตร และลักษณะผิดปกติ รอยกดและช้ำจากการใช้คีม
หู
ใบหูควรอยู่บนหรือเท่ากับตา
ตา
บุตาขาวเลือดออก,อัลมอนด์ eye อาจเป็น Down syndrome
จมูก
ความโล่งของจมูก ปีกจมูกไม่บาน
ปาก
ริมฝีปากแหว่ง (Cleft lip)
เพดานโหว่ (Cleft palate)
Tounge tie
คอ
ไม่มีปีกคอ ถ้ามีปีกคอ(Web neck) พบใน Turner's syndrome
ทรวงอก
ไม่มีอาการอกบุ๋ม อกนูน
อัตราการหายใจจะอยู่ระหว่าง 40-60 ครั้ง/นาที
Periodic Breathing
มีการหยุดหายใจ ในช่วงสั้นๆ 5-10 วินาที
เต้านม
พบไตเนื้อเยื่อนม (breast bud)
เต้านูน (breast engorgement)
ของเหลวสีขาวคล้ายนกั้นม (Whitch's milk)
ท้อง
ท้องของทารกปกติมีลักษณะกลม ยื่นออกมามากกว่าหน้าอกเล็กน้อย สังเกตภาวะ Hernia omphalocele ตับโต?
แขนและมือ
ดูลายฝ่ามือ ไม่ชัดเป็นทารกคลอดก่อนกำหนด
มีเส้นตัด simian crease พบในกลุ่มดาวน์
นิ้วมือ นิ้วเท้า
มีข้างละ 5 นิ้ว ไม่มีนิ้วติดกัน
อาจพบเท้าปุก (Club foot)
นิ้วเท้าบิดเข้าด้านใน (Club finger)
การตรวจร่างกายตามระบบภายใน 24 hr.หลังคลอด
เพศหญิง
แคมใหญ่จะปิดมิดส่วนแคมเล็กและ Clitoris
มีเมือกลีขาว เนื่องจากได้รับฮอร์โมนเพศจาก มารดาขณะอยู่ในครรภ์
บางรายที่ติ่งเนื้อยื่นออกทางช่องคลอดเรียก hymen tag
เลื่อดออกทางช่องคลอดเล็กน้อยคล้ายมี ประจำเดือน
เพศชาย
รอยย่นชัดเจนและลึกของถุงอัณฑะ
ตำแหน่งรูเปิดของท่อปัสสาวะ
Epispadias/Hypospadias
อัณฑะบวม (Hydrocele)
ลูกอัณฑะไม่ลงถุง (undescended testis)
ทวารหนัก
ดูการถ่ายขี้เทาภายใน 24 hr.
ตรวจภาวะไม่มีช่องทวารหนัก หรือ อาจมีรูทวารหนักเปิดใน ช่องคลอด (Fistula)
หลัง
ดูรอยนูน บุ๋ม ก้อนยื่นออกมา หรือความผิดปกติ ของกระดูกสันหลัง
กระดูกสันหลังที่มีการเจริญเติบโตผิดปกติ หรือไม่สมบูรณ์
ระบบประสาท
ตรวจ reflex
Moro reflex
ทารกแสดงอาการผวา ตกใจ สะดุ้งโดยเหยียดแขนขาชูขึ้นกลางนิ้วมือออกสองข้างเท่ากัน
Tonic neck reflex
ทารกเหยียดแขน-ขาไปในด้านที่หันหน้าไป และงอแขน-ขาด้านตรงข้ามคล้ายท่าฟันดาบ
Sucking reflex
ทารกลูกอ้าปาก และดูดนิ้ว
Rooting reflex
ทารกหันหน้าไปหาสิ่งกระตุ้น และอ้าปากพยายามจะดูด
Palmar reflex หรือ Grasp reflex
ทารกกำนิ้วมือผู้ตรวจไว้ชั่วครู่แล้วปล่อย
Babinski reflex หรือ plantar reflex
ทารกกางนิ้วเท้า
Placing reflex
Stepping reflex
ประเมินลักษณะภายนอก 6 อย่าง
ตรวจทางระบบประสาท 6 อย่าง
การดแลประจำวันในทรกแรกเกิดปกติ
1) การควบคุมอุณหภูมิกาย
วัดอุณหภูมิกาย วันละ 2 ครั้ง อบอุ่นร่างกายทารกให้ได้ 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
รักษาอุณหภูมิห้องที่ 26-27 องศาเซลเซียส
การสูญเสียค.ร้อน
การนำ
ใช้น้ำอุ่นอาบ
วอร์มมือ
พื้นผิวเย็นให้เอาผ้าปู
ห่มผ้า
การพา
แม่ร้อนแล้วเปิดพัดลม
การระเหย
ทารกปัสสาวะ >>อาบน้ำ>>รีบเช็ดตัว
การแผ่รังสี
2) การให้อาหารและการดูแลน้ำหนักตัว
ขณะอยู่โรงพยาบาล 7 วันแรก ลดลงได้ ประมาณ 7-10% ของนหนักตัวแรกเกิด
อายุ 5-7 วัน นหนักควรจะเริ่มขึ้น วันละ 20-30 กรัม และเท่ากับแรกเกิดประมาณวันที่ 9-10
ภายใน 5 วัน หาก BW ลด >= 7% ดูแลเพิ่มเติม
3) การดูแลทำความสะอาดผิวหนัง
ดูแลผิวหนัง
อาบน้ำ หลังเกิด 12-24 ชม.
เช็ดตา
เช็ดตา ด้วยสำลี ชุบนต้มสุก บีบหมาด
4) การดูแลความสะอาดสะดือ
ทำความสะอาดอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง และเมื่อเห็นว่ามีสะดือแฉะ
สังเกต การติดเชื้อ เช่น บวมแดง มีเลือด มีหนอง หรือมีกลิ่นเหม็น
5) การดูแลความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
นำสำลีชุบน้ำสะอาดบีบหมาดๆ เช็ดจากด้านหน้าไปด้านหลังไม่ย้อนไปย้อนมา
6) การดูแลการขับถ่าย
เปลี่ยนผ้าอ้อมทุกครั้งที่มีการขับถ่าย เปียกแฉะ เพื่อป้องกันภาวะอุณหภูมิกายต่ำผิวหนังเกิดก้นแดงอักเสบ
ทารกควรปัสสาวะภายใน 24-48 ชั่วโมงหลังคลอด
กินนมแม่ถ่ายบ่อยเหลวสีเหลืองเข้ม ปัสสาวะอาจมีตะกอนสีปนแดงอิฐเล็กน้อยได้
2 วันแรก
ถ่ายขี้เทา
3-4 วัน
Transitional stool
การให้วัคซีนทารกแรกเกิด (Immunization)
1) ACTIVE IMMUNIZATION เชื้อเป็น
HBV1 0.5 cc Muscle injection Vastus lateralis
นัดฉีดต่อ HBV2 1-2 เดือน และ HBV3 6 เดือน
หลังได้วัคซีนอาจอาการปวด บวมบริเวณที่ฉีด มีไข้ต่ำ
BCG o.1cclintradermal injection ต้นแขน /สะโพก
วัณโรค
ภายหลังฉีด 1-3 สัปดาห์ อาจจะปรากฏตุ่มนูน เป็นหนอง แตกเป็นแผล เป็นๆหายๆ 3-4 สัปดาห์ จะกลายเป็นแผลเป็น
ใช้สำลีชุบนาต้มสุกที่เย็นแล้ว เช็ดรอบ ๆ แผลแล้วซับให้แห้ง
2) Passive immunization
HBIG มารดาติดเชื่อไวรัสตับอักเสบบี
0.5 ml IM หรือคำนวณตามน้ำหนัก
ภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด
ฉีดคนละข้างกับ HBV
หน่วยที่ 11 การพยาบาลทารกที่ผิดปกติเล็กน้อย
Clubfoot or talipes equinovarus (เท้าปุก
)
หมายถึง เป็นความผิดปกติของรูปเท้า
ส่วนหลังเท้ามีลักษณะจิกลง ด้านล่าง (equinus)
อุ้งเท้ายกสูงกว่าปกติ (Varus)
วิธีการรักษา
ในช่วงอายุ 6 เดือนรักษา โดยการดัดเท้า(นักกายภาพ)และ ใส่เฝือก(MD.)
กลุ่มที่ไม่หาย จากการดัดและเข้าเฝือก แพทย์ อาจต้องเสริมการผ่าตัด
Meconium impact
ปัญหาคั่งค้างของขี้เทา (Meconium) ในระยะแรกเกิด
ไม่ถ่ายอุจจาระ ท้องอืด อาเจียน ทารกร้องกวน เบ่งอุจจาระแต่อุจจาระไม่ออก
การถ่ายขี้เทาช้า
สาเหตุเกิดจาก ความผิดปกติของลำไส้
Meconium ileus ลำไส้อาจมี
ภาวะอัมพาตของลำไส้ (Hirschsprung's disease)
Duodenal atresia with or without annular
pancreas, Jejunoileal atresia, Malrotation with midgut volvulus
cystic fibrosis
ปัญหาไม่ถ่ายขี้เทา
สาเหตุจากการไม่มีรูเปิดของทวารหนัก (imperforated anus)
ปัญหาไม่ถ่ายขี้เทา
วัดปรอททางทวารหนักตั้งแต่แรกเกิด
ติดตามการขับถ่ายขี้เทา โดยปกติถ่าย ภายใน 24 ชม.หลังเกิด สังเกตต่อได้ ถึง 48 ชั่วโมง
Lactose intolerance
(Galactosemia)
สาเหตุ ขาด Galactose 1 -phosphate Uridyl
ผลต่อทารก
ทำให้ มี Galactose, Fructose และ Galactose 1 -phosphate ในกระแสเลือดสูง ทำให้เกิดภาวะ Neonatal Jaundice
สัปดาห์ที่ 2 ม้ามจะโต เกิด Portal hypertension ตาจะเริ่มมองเห็นไม่ชัด เกิดภาวะต้อกระจก
อาการ หลังกินนมแม่หรือนมผสม
ถ่ายเหลว
อาเจียน
weight loss
weight loss
การพยาบาล
1) งดนมแม่และนมผสม แนะนำให้ครอบครัวให้นมทารกชนิด Lactose Free Fomula (Soy Protein formula)
2) เฝ้าระวังภาวะ hypoglycemia, Liver failure, Bleeding disorder, E.coli infection
Down syndrome (กลุ่มอาการดาวน์)
ㆍ สาเหตุ เป็นกลุ่มอาการที่มีความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 21
มารคาที่มีอายุมากขึ้นมีโอกาสให้กำเนิดทารกที่มีภาวะ ดาวน์มากขึ้น อายุเกิน 35 ปี
ลักษณะ
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (Hypotonia)
ตาเล็ก (Almond eyes)
ดั้งจมูกแบน
ใบหูเล็ก เกาะต่ำ (Low Set ear)
ลิ้นโตคับปาก
มือกว้างแต่สั้น มีเส้นลายมือเส้นเดียวหรือเรียก เส้นลายมือขาด (Single Transverse Palmar crease / simian crease
ตัวเตี้ย ศีรษะแบน ผิวหนังหย่อน ที่คอด้านหลัง) นิ้ว มือที่ 5 (นิ้วก้อย)โค้งออก ช่องนิ้วเท้า ระหว่างนิ้วหัว แม่เท้ากับนิ้วชี้ กว้าง มีร่องลึกมาทางฝ่าเท้า
พัฒนาการช้า
การดูแล
การให้นม ระวังการดูดกลืน ให้ดูดนมช้า ๆ และจัดท่าศีรษะสูง
การวางแผนการจำหน่าย ให้ความรู้บิดามารดา ในการเลี้ยงดูบุตร (Parental teaching) เนื่องจากทารกพัฒนาการช้า
Neonatal teeth or natal teeth
ส่วนใหญ่เป็นฟันล่าง
จะโยกได้ เพราะไม่มีรากฟัน
อาจมีการหลุดไปอุดทางเดินหายใจ เกิดอันตรายต่อทารกได้
ส่งพบทันตแพทย์เพื่อพิจารณา ถอนออก เพราะหลุดง่าย
Neonatal Jaundice or Neonatal Hyperbilirubinemia (ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด)
การคั่งของสารบิลิรูบินในเลือดสูง (total serum bilirubin: TSB) มีค่ามากกว่า 5 mg/dl
1.(Physiologic jaundice)
เม็ดเลือดแดงมีอายุสั้นและแตก
ตับของทารกยังทำงานได้ไม่เต็มที่
มีการดูดกลับบิลิรูบินเข้ากระแสเลือดในลำไส้มาก จากทารกได้รับนมน้อยและไม่ถ่ายขี้เทา
(Pathologic jaundice)
ทารกมีโรคหรือมีภาวะที่ทำให้เม็ดเลือดแดงแตกตัวมาก บิลิรูบินใน เลือดสูง เหลืองเร็วภายใน 24 ชั่วโมงหลังเกิด สาเหตุได้แก่
ㆍ การไม่เข้ากันของหมู่เลือด ABO, Rh (ทารก gr. O)
G6PD deficiency
Polycythemia
กระบวนการการกำจัดบิลิรูบินในทารกแรกเกิด
บิลิรูบินผ่านเข้าเซลล์ตับ Unconjugated bilirubin
conjugated bilirubin
ขับผ่านท่อและถุงน้ำดี
(ละลายน้ำดี)
ที่ลำไส้ conjugated bilirubin +bacteria
Stercobilin และ Urobilinogen
ขับออกทางอุจาระและขับออกทางปัสสาวะ
ตัวเหลืองในทารกแรกเกิดที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
Breast feeding Jaundice
นมแม่ไม่เพียงพอ ขับถ่ายน้อย มีการดูดกลับ ของบิลิรูบิน
พบ 2-3 วันหลังคลอด หายเองใน 1 wks
ทารกครบกำหนดที่นหนักลดลงสามารถใช้ทำนายภาวะ breast feeding jaundiceได้ 24 hr.> 5.1% 48 hr. > 7.7%
Breast milk Jaundice พuBF 2-3 wks.
น้ำนมมารดามีสาร 3อัลฟ่า, 20 เบต้า pregnanediol จึงมีการขัดขวาง การทำหน้าที่ของตับในการเปลี่ยนบิลิรูบิน รวมทั้งกรดไขมันอิสระบางตัว เช่น B-glucuronidase ซึ่งทำให้เกิดการดูดซึมกลับของบิลิรูบินมากขึ้น
ผลกระทบของภาวะตัวเหลือง
ภาวะแทรกซ้อนทางสมอง (Kernicterus)
การประเมินทารกที่มีภาวะบิลิรูบินสูง
การตรวจร่างกาย เพื่อหาสาเหตุ และตรวจภาวะเหลือง
Skin test
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เจาะส้นเท้า เก็บเลือดส่งตรวจ หาค่า MB / Hct
ตรวจ jaundice work up เจาะเลือดส่งตรวจ
หาสาเหตุ
ทารกเกิดก่อนกำหนด, Polycythemia, Microcephaly การติดเชื้อตั้งแต่ในครรภ์ ภาวะเลือดออกและบาดเจ็บจากการคลอด
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับตัวเหลือง
อายุครรภ์น้อย ภาวะแทรกซ้อนในขณะคลอด ทารกมีลิ้นติด
การดูแลรักษา
กรณีตัวเหลืองน้อย
ให้นมแม่ ดูดบ่อย ดูดถูกวิธี
ช่วยเหลือให้ทารกได้นมมากขึ้น เพื่อขับขี้ เทาออก
สังเกต
อาการซึม ไม่ดูดนม อาเจียน
ร้องเสียงแหลม
Moro Reflex ลดลง
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
การรักษาด้วยการส่องไฟ (Phototherapy)
MBมากกว่าเท่ากับ13 mg/dl (กรณีไม่ใช่เหลืองเร็ว)
การพยาบาลขณะส่องไฟทารก
อธิบายให้มารดา บิดา เข้าใจ
เช็ดตาด้วยNSS ปิดตาทารกให้มิดชิดด้วยวัสดุนุ่มทึบแสง
เช็ดตัว งดทาแป้งทารกหรือโลชั่น เพื่อให้ผิวหนังสัมผัสแสงมากทีสุด
ถอดเสื้อให้ผิวหนังสัมผัสแสง ทารกเพศชายใส่ผ้าอ้อมป้องกันอัณฑะจากความร้อนจากไฟที่ส่อง
วางทารกตำแหน่งกลางไฟ ห่างจากหลอดไฟ 30-40 เซนติเมตร (ขึ้นกับชนิดเครื่องส่องไฟ)
ใช้ผ้าคลุมรอบ ๆ เครื่องสองไฟ เพื่อลดการกระจายแสง
ให้นมให้เพียงพอ
สั่งเกตอาการ ติดตาม microbilirubin และ hematocrit
9.กรณีเหลืองมากขึ้น รายงานแพทย์ อาจต้องย้ายไป หน่วยทารกป่วย เปลี่ยนถ่ายเลือด
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ (Subtemperature)
หมายถึง ทารกที่มีอุณหภูมิที่วัดจากทาง
วัดทวารหนัก (Rectal temperature, core Temperature) ต่ำกว่า 36.5 องศาเซลเซียส หรือ
วัดทางผิวหนัง (Skin Temperature) ต่ำกว่า 36.0 องศาเซลเซียส
ผลต่อทารก
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ >> Respiratory distress
ภาวะเลือดกรด Hyperbilirubinemia ภาวะเลือดออกในสมอง Pulmonary vasoconstriction หายใจลำบาก หยุดหายใจและเสียชีวิตในที่สุด
การพยาบาล
ทารกที่มีอุณหภูมิกายต่ำไม่มาก (T มากกว่าเท่ากับ 36C)
Kangargo care ห่มผ้าทั้งมารดาและ ทารก หรือ SSC
ห่อด้วยผ้าห่อตัว 2 ชั้น และ สวมหมวก Keep warm
กรณีทารกอุณหภูมิต่ำกว่า 36C
ให้วางทารกไว้ใต้เครื่องให้ความอบอุ่น
ติดตามตรวจวัดอุณหภูมิภายหลังดูแลทุก 1 ชั่วโมง
ครบ 2 ชั่วโมงอุณหภูมิของทารกยังไม่ เพิ่มขึ้นเป็นปกติ ควรรายงานแพทย์
1) ป้องกัน Subtemperature
ดูแลสภาพแวดล้อมของทารกแรกเกิด ได้แก่
อุณหภูมิห้อง
การเช็ดตัวทารก
ไม่ปล่อยให้ ทารกเปียกแฉะเมื่อขับถ่าย
อบอุ่นมือก่อนสัมผัสทารก อบอุ่นผ้า และอุปกรณ์
ใช้ผ้าห่อตัวทารก ใส่หมวก
2) สั่งเกตหากพบ ปลายมือปลายเท้าเขียว ภาวะ หายใจลำบาก ควรนำทารกวางใต้เครือง Warmer และตรวจสัญญาณชีพ
ตรวจดู Skin perfusion เพื่อประเมินว่าทารกมี ภาวะcardiac decompensation หรือไม่
วัดค่า Oxygen อิ่มตัวในเลือด ซึ่งไม่ควรต่ำกว่า 95 เปอร์เซ็นต์
ภาวะน้ำตาไหล ในทารกแรกเกิด (Epiphora)
หมายถึง น้ำตาไม่สามารถไหลไปทางท่อน้ำตาที่ ตามปกติจะเปิดเข้าสู่โพรงจมูก ทำให้น้ำตาที่สูร้างโดย ต่อมน้ำตาเพื่อมาหลอลื่นตานั้นเอ่อเป็นหยดน้ำตาขัง บริเวณเปลือกตาล่าง ล้นออกมาให้เห็นและเกิดอาการได้
สาเหตุ
เกิดจากท่อระบายน้ำตาบริเวณหัวตาข้างนั้นอุด ต้นแต่กำเนิด / มีเมือกหรือขี้ตามาอุดตันรูท่อระบายน้ำตา
การวินิจฉัย
ใช้สำลีพันปลายไม้ที่ปลอดเชื้อ กดที่หัวตา เบาๆ และเคลื่อนขึ้นด้านบน
จะมีเมือกหรือ ขี้ตาออกมาจากรูเปิดของท่อน้ำตา
วิธีการดูแล รักษา
ทำความสะอาดตา และการนวดหัวตาเพื่อให้ท่อน้ำตาเปิด
การแยงท่อน้ำตา
ทำก่อนเด็กมีอายุครบ 1 ปี ถ้าทิ้งไว้นานเกิน 1 ปี กระดูกในโพรงจมูกจะ แข็งตัวและหนาขึ้นเป็นกระดูกทึบ ต้องรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด
Sucking defect ภาวะบกพร่องการดูด
ลิ้นทารกไม่สามารถไล้ที่ลานนมขณะดูดนมแม่ ทำให้ทารกได้รับน้ำนมไม่เพียงพอและจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือและแก้ไข
สาเหตุ
ความผิดปกติของอวัยวะในช่องปาก ได้แก่
ปากแหว่ง (Cleft lip) เพดานโหว่ (Cleft palate)
(ภาวะลิ้นติดตรึง (Tongue tie)
ทำให้ทารกได้นมไม่พอ และหัวนมแม่เจ็บ แตก ลิ้นทารกไล้ไม่ถึงลานนม (suckling defect)
ลักษณะลิ้นของทารก
แลบลิ้นได้ไม่พ้นริมฝีปากหรือเหงือกบน*
ปลายลิ้นอาจเป็นร่องหยักเข้ามา หรือเป็น
รูป V หรือรูปหัวใจ
SIRIRAJ TONGUE-TIE SCORE (STT SCORE)
STT score < 8 ปรึกษาแพทย์พิจารณา ผ่าตัด Frenotomy!
การลงชื่อยินยอมทำหัตถการ หลังตัดพังผืดใต้ลิ้น ให้ทารกดูดนมได้ และสังเกตการดูดนมของทารก
(ภาวะลิ้นติดตรึง (Tongue tie)
ทารกคลอดก่อนูกำหนด
ปฏิกิริยาการดูดกลืนของทารกยังไม่สมบูรณ์
(Sucking and Swallowing reflex)
3.ทารกมีอาการผิดปกติ
ตัวเหลือง ซึม เป็นเหตุให้ได้รับปริมาณนานมไม่เพียงพอ
Undescended testes (อัณฑะไม่ลงถุง)
เกินอายุ 1 ปี undescended testis จะไม่เคลื่อนลงมาอีก ต้องผ่าตัด
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายโดยคลำหา testis
ถ้าอัณฑะบามใช้ไฟฉายส่องบริเวณอัณฑะข้างที่บม(hydrocele)
ภาวะแทรกซ้อน
ไม่ลง ทั้งสองข้าง ไม่มีโอกาสมีบุตรได้เลย
เป็นไส้เลื่อน Hernia เปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็ง
psychological factors ผลต่อเด็ก ถูกเพื่อนฝูงหรือพี่น้องเรียกว่าไข่ ทองแดงเป็นปมด้อยและขาดความมันใจในตนเอง
แนะนำ
ถุงอัณฑะจะลงมาเองภายใน 6 สัปดาห์ หากไม่ลงให้ปรึกษ แพทย์
caput succedaneum vs cephalohematoma
caput succedaneum
ศีรษะบวมน้ำ
คร่อม รอยต่อกระดูกศีรษะ
พบตั้งแต่แรกเกิด
หายไปใน 2-3 วัน
cephalohematoma
มีเลือดคั่งใต้ชั้นเยื่อหุ้มกระดูก(Periosteum)
มีรอยบวมเกิดขึ้นจากมีเลือดคั่ง
พบภายหลังคลอดแล้ว
หายใน 2-3 สัปดาห์
สังเกต ก้อนใหญ่ขึ้น? ซึมลง?
ภาวะ Hypoglycemia ในทารกแรกเกิด
เกณฑ์ทารก น้ำตาลในเลือดDTX < 40 mg/dI หรือ Plasma glucose<45 mg %
อาการ
กระวนกระวาย ง่วงซึม หายใจเร็ว หยุดหายใจ เขียว อุณหภูมิร่างกายต่ำ หรือไม่คงที่ ความตึงตัวของกล้ามเนื้ออ่อนแรง มีอาการ ชัก หรือมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะของการกิน
สังเกต feeding cues อาการหิวของทารก
สาเหตุ
ทารกที่มีน้ำหนักตัวมาก (LGA)
ทารถที่คลอดจากมารดาเป็นเบาหวาน
ทารกที่คลอดก่อนกำหนด
ทารที่คลอดมีน้ำหนักตัวน้อย (SGA)
ทารกที่มีภาวะเครียดที่อยู่ในครรภ์หรือขณะคลอด
ทารกที่มารดาได้ยาบางชนิดก่อนคลอด เช่น propanolol
การดูแล
DTX ภายใน 1-2 hr. หลังเกิด
DTX>40 Early feeding ใน 1-2 ชม.หลังเกิด และสังเกตอาการHypoglycemia / ติดตามDTX
ถ้าก่อน feed DTX<40 IVF -10%D/W ติดตามเจาะDTXหลัง feed 1/2 - 1 hr.
if>40 ติดตาม DTX q 1-2 hr. Until stable(260mg%)