Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Closed Fx Lt humerus - Coggle Diagram
Closed Fx Lt humerus
ข้อมูลทั่วไป
-
-
-
-
ผู้ป่วย
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 20 ปี เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย ศาสนาพุทธ สถานภาพโสด เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลวันที่ 17 เมษายน 2566
อาการปัจจุบัน
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 20 ปี รู้สึกตัวดี พูดคุยโต้ตอบได้ปกติ น้ำหนัก 57 กิโลกรัม ส่วนสูง 180 เซนติเมตร ผิวสีขาวเหลือง บริเวณแขนข้างซ้ายบวม มีรอยแผลเย็บจากการผ่าตัด ORIF with plate and screw บริเวณต้นแขนยาวประมาณ 10 เซนติเมตร และมีรอยแผลถลอก on arm sling, on wrist support สะโพกข้างขวามีรอยแผลเย็บ ยาวประมาณ 4 เซนติเมตร
ประเมินสัญญาณชีพ (20/04/2566) T: 36.6 ํC P: 84/min R: 20/min BP: 110/61 mmht
พยาธิสภาพของโรค
อาการและอาการแสดง
4.กระดูกต้นแขนหักจะมีการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ และมีเสียงดังเมื่อขขับเพราะเกิดการกระทบเสียดสีกันของ ส่วนกระดูกที่แยกออกจากกันในบริเวณที่หัก ทำให้เกิดมีเสียงให้ได้ยิน
1.อาการปวดและกดเจ็บ ผู้ป่วยทุกรายที่มีกระดูกต้นแขนหักและหากระบบประสาทยังปกติ จะมีอาการปวดเสมอแต่จะปวดมากหรือน้อยแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับความอคทน และความรุนแรงของการหัก
5.อาจเกิดอันตรายที่เกิดกับเส้นประสาทหรือหลอดเลือด บริเวณต้นแขนจะมีเส้นเลือดเส้นประสาทมาหล่อ เลี้ยงจำนวนมาก เมื่อมีการหักของกระดูกอาจมีการกระทบกระเทือนถึงเส้นเลือดเส้นประสาท และเส้นเอ็นได้
2.อวัยวะส่วนต้นแขนหรือแขนข้างที่หักจะสูญเสียหน้าที่ เนื่องจากกระดูกแยกออกจากกันจะทำให้อวัยวะ ส่วนต้นแขน ปลายเแขนไม่สามารถปฏิบัติงานได้ดังเดิม เช่น การยกแขนไม่ขึ้น
3.ความผิดรูป เมื่อกระดูกต้นแขนหักรูปร่างของกระดูกจะเปลี่ยนไป มีอาการบวมช้ำ เพราะมีเลือดออกใน เนื้อเยื่อ แขนบิดหมุนผิดปกติ
สาเหตุ
กลไกการหักของกระดูกต้นแขน อาจเกิดจากแรงที่มากระทำโดยทางตรงหรือทางอ้อม ซึ่งแรงที่มากระทำ โดยตรงได้แก่ ถูกตี หรือถูกยิงที่ลำกระดูก แรงกระแทกจากอุบัติเหตุรถยนต์ รถจักรยานยนต์ล้มคว่ำ ส่วนแรงที่มากระทำโดยอ้อม เช่นการหกล้มแล้วเอามือยันพื้น
การรักษา
- การรักษาแบบประดับประคอง การรักษากระดูกต้นแขนหักส่วนมากรักษาโดยวิธีไม่ต้องผ่าตัด คือการจัด
กระดูกให้เข้าที่ โดยการดัดดึง และตรึงภายนอกด้วยการใส่เฝือก หรือดึงถ่วงจนกระดูกติดดี
- การรักษาโดยวิธีการผ่าตัด การรักษากระดูกต้นแขนหักและตรึงภายในด้วยโลหะเพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่ และตรึงภายในด้วยโลหะให้มั่นคงทำในรายที่ผู้ป่วยเกิดภาวะกระดูกหักที่ไม่สามารถจัดกระดูกให้เข้าที่จากภายนอกได้
ภาวะแทรกซ้อน
1.ภาวะแทรกซ้อนในระยะแรก ได้แก่ ช็อคเนื่องจากการเสียเลือดมาก ก้อนไขมันอุดตัน เนื้อเยื่อ เส้นเลือด ฉีกขาดอาจมีก้อนไขมันหลุดเข้าไปในกระแสเลือด ไปอุดตันอวัยวะสำคัญเช่น ปอด สมอง หรือหัวใจ
2.กาวะแทรกซ้อนในระยะหลังที่สำคัญ ได้แก่ กระดูกไม่ติด กระดูกติดช้า กระดูกติดผิดรูป การติดเชื้อ กระดูกตายเนื่องจากการขาดเลือดไปเลี้ยง หรือภาวะแทรกซ้อนจากการเข้าเฝือกที่รัดแน่นเกินไป เส้นเลือดถูก กดทับ ทำให้กล้ามเนื้อเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของนิ้วมือเกิดอาการเขียวคล้ำตามมา
จากกรณีศึกษามีสาเหตุมากจากแรงกระแทกจากการเกิดอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์
วันที่ 18 เมษายน 2566 มีอาการปวดและกดเจ็บ ยกแขนไม่ขึ้น กระดิกนิ้วไม่ได้ แขนบวมผิดรูป
วันที่ 19 เมษายน 2566 เริ่มกระดิกนิ้วได้ ยกแขนไม่ขึ้น แขนบวม
วันที่ 20 เมษายน 2566 เริ่มยกแขนได้ กระดิกน้ำได้ กำมือได้แต่แบมือไม่สุด แขนยังคงมีความบวม
รักษาโดยวิธีการผ่าตัด การรักษากระดูกต้นแขนหักและตรึงภายในด้วยโลหะ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-