Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 14 การสร้างนวัตกรรมจากงานวิจัยเพื่อ การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร …
หน่วยที่ 14 การสร้างนวัตกรรมจากงานวิจัยเพื่อ
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
14.1 แนวคิด องค์ประกอบและตัวอย่างของการวิจัยเพื่อการตอบโจทย์การสร้างนวัตกรรม
การวิจัยและพัฒนา ความหมายและองค์ประกอบ
ความหมาย
การวิจัยที่กำหนดผลลัพธ์เป็นการออกแบบ “แบบจำลอง/โมเดล” (model) ที่ใช้กลยุทธ์(strategy) ที่เหมาะสมเพื่อให้ได้องค์ความรู้ใหม่จากการทดสอบตรวจสอบตามกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) ผลได้จากการวิจัยจะถูกนำมา พัฒนานวัตกรรมที่เป็นทางเลือกใหม่ ที่ก้าวข้ามความรู้เดิมเพื่อเกิดการยกระดับมาตรฐานขององค์กร ทั้งด้านการเพิ่มรายได้คุณภาพชีวิตโอกาสใหม่ๆและการพัฒนาแบบยั่งยืน(เน้นการสร้างความเข้มแข็งขององค์กรในชุมชนในการรับผิดชอบต่อสังคม)
องค์ประกอบ
การจำลองแบบ (simulation)
ต้นแบบ (prototype)
แบบจำลอง (model)
คุณลักษณะที่พึงปรารถนาของการวิจัยและพัฒนา
และอุปนิสัยที่จำเป็นของนักวิจัย
คุณลักษณะที่พึงปรารถนา
คุณสมบัติ(characteristic) พื้นฐานที่พึงประสงค์ของนักวิจัยเป็นตัวเริ่มต้นที่เป็นรากฐาน
อุปนิสัยที่จำเป็น
แรงจูงใจ อุปนิสัย จินตนาภาพส่วนตน (self-image) องค์ความรู้ที่เพิ่มความเป็นเลิศซึ่งต้องใช้ในการปฏิบัติงานที่ให้ผลงานที่มีคุณค่ามากกว่า ที่จะทำให้แกนนำเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน
ให้เกิดการปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทของนักวิจัยแลพัฒนาของการสร้างนวัตกรรมชุมชนที่มีอย่างเกิดผล
14.2 แนวคิด กระบวนการและเครื่องมือพื้นฐานของ
การขับเคลื่อนหลักเพื่อตอบโจทย์การวิจัยและพัฒนา
แนวคิดการวิจัยและพัฒนาเพื่อการขับเคลื่อนนวัตกรรม
เกี่ยวข้องกับแบบจำลอง/โมเดล และการ
จำลองแบบ/จำลองสถานการณ์ เพื่อเป็นต้นแบบ
เป็นเทคนิคที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษาพฤติกรรมของ
ระบบรวมถึงการศึกษาและประเมินผลกระทบต่างๆ เพื่อเป็นพื้นฐานการตัดสินใจ
กระบวนการขับเคลื่อนการวิจัยเพื่อให้เห็นทิศทางและแนวทางการตอบโจทย์
ประเด็นเกี่ยวข้อง
วิสัยทัศน์ที่ชัดเจน
กระบวนการสืบค้นข้อมูลที่จำเป็นในการกำหนดแบบจำลองและกลยุทธ์
กระบวนการพัฒนาและกำหนดกรอบแบบจำลอง
พื้นฐานกระบวนการสร้างแบบจำลองทางสังคมศาสตร์
กระบวนการสร้างแบบจำลองให้ใกล้เคียงกับระบบที่เกิดขึ้นจริงให้มากที่สุด
การวิเคราะห์ระบบเพื่อกำหนดกรอบการสร้างแบบจำลองให้เหมาะสม
กระบวนการสร้างการจำลองแบบ/จำลองสถานการณ์
กระบวนการตรวจสอบ และทดสอบเพื่อปรับแก้แบบจำลอง
ตรวจสอบ
การทดสอบ
กระบวนการปรับแก้เพื่อให้เป็นแบบจำลองที่สมบูรณ์
กระบวนการ “จำลองแบบ/จำลองสถานการณ์” (simulation)
เป็นการนำแบบจำลอง/โมเดลที่สร้างขึ้นมาประเมินสถานการณ์ (ของปัญหาความต้องการ) อย่างมีระบบแล้ว
กรอบการจัดทำคลังข้อมูล
การค้นหาปัจจัยที่เป็นพลังผลักดันสำคัญ
การออกแบบการทดลอง
การเตรียมการติดตามการจำลองสถานการณ์
การนำการจำลองสถานการณ์ไปใช้ในองค์กร
การจำลองสถานการณ์สู่กลยุทธ์
เครื่องมือการวิจัยและพัฒนาเพื่อการขับเคลื่อนให้ตอบโจทย์
สนทนากลุ่ม/การอภิปรายกลุ่มแบบเจาะจง (focus group discussion)
สุนทรียสนทนา (dialogue)
วิธีการระดมพลังสมอง (brain storming)
เวิร์กชอป
เทคนิคการวิเคราะห์สาเหตุ
14.3 การวิเคราะห์โอกาสการสร้างนวัตกรรมด้วยการวิจัย
และพัฒนาขององค์กรชุมชน
โอกาสและยุทธศาสตร์เพื่อการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเกษตรและอาหาร
เน้นแนวทางการปรับจาก “เครือข่ายการผลิตในชุมชน” คือวิสาหกิจในชุมชน(ที่มีความพร้อม)ที่เน้นแค่การผลิตเป็นพื้นฐานปรับเปลี่ยนมาเป็น“เครือข่ายธุรกิจ”ด้วยกระบวนการวิจัยและพัฒนา ด้วยการรับรู้ข้อมูลที่เป็น “โอกาส” ของนโยบาย “ประเทศไทย 4.0” และ “เกษตร 4.0” เพื่อนำมากำหนดโมเดลกลยุทธ์ที่เหมาะสมที่วิเคราะห์จาก “เหตุของปัญหา/ในปัจจุบันและอนาคต” ในการปรับเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนที่มีฐานการผลิตการเกษตร(ที่มีความพร้อม) เป็นวิสาหกิจชุมชน
รูปแบบ“เครือข่ายธุรกิจ”ด้านการเกษตรและอาหาร
กระบวนการสร้างนวัตกรรมของการวิจัยและพัฒนาของเครือข่ายในชุมชน
เน้นการที่คนในชุมชนเป็นศูนย์(centric) เพื่อการเพิ่มศักยภาพของการเห็นคุณค่าของตนเอง และชุมชนที่เผชิญปัญหาเอง ในการแก้ปัญหาให้เปลี่ยนเป็นปัญญาการเปลี่ยนวิกฤติเป็นโอกาสด้วยการ “ฝึกฝนตนเองและองค์กร” ให้เป็น “องค์กรแห่งการเรียนรู้” ด้วยการ“ขยายโอกาส” ทางการวิจัยเพื่อผลทาง “การกระจายและสร้างสรรค์ปัญญาไปตามท้องถิ่นต่างๆ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตน” ที่เป็น“ปัญญาจากการให้ความสำคัญแก่คนในพื้นที่” ในการนำความรู้จากการปฏิบัติไป “ตอบโจทย์ด้วยการวิจัยและพัฒนา” ในการทำกิจกรรมร่วม และมีการสรุปผลบทเรียนอย่างมีสาระของ“ความมีเหตุมีผล” ทั้งข้อเสนอที่ได้จากการวิจัย ที่เป็น “ความเป็นจริง” ด้วย “โลกทัศน์ร่วม/วิสัยทัศน์ร่วม”นั้น วิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ที่ทำการวิจัย ที่จะนำทางตนเองเข้าสู่ “เครือข่ายธุรกิจ”จะเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง ในการนำเอา “องค์ความรู้ใหม่ๆ ไปทำเพื่อการยกระดับวิธีคิดใหม่ทำใหม่”