Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาด้วยไฟฟ้า(Electroconvulsive Therapy), นางสาวอามีเน๊าะ สุลง…
การรักษาด้วยไฟฟ้า(Electroconvulsive Therapy)
เป็นการบำบัดรักษาจิตเวชด้วยการปล่อยกระแสไฟฟ้าไปกระตุ้นสมองผ่านขั้วตัวนำไฟฟ้า บริเวณขมับ ซึ่งทำให้อาการมางจิตบางชนิดทุเลาลง
กลไกลการออกฤธฺิ์
ทฤษฏีประสาทสรีระวิทยา(Neurophysiology Theory)
ทฤษฏีชีวเคมี (Biochemical Theories)
วิธีการรักษาด้วยไฟฟ้า;แบ่งตามการวางขั้วไฟฟ้า
การวางขั้วไฟฟ้า2ข้าง(bilateral ECT)ข้างละ1ข้าง เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านเข้าสู่สมองของผู้ป่วย
การวางขั้วไฟฟ้าทั้ง2แผ่นไว้ที่ขมับข้างเดียว(Unilateral ECT)เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านสมองซีกเดียว ผลดีคือ การสูญเสียความทรงจำน้อยกว่า ฟื้นจากECTเร็วกว่า
วิธีการรักษาด้วยไฟฟ้า;แบ่งตามการใช้ยาระงับความรู้สึก
Modified ECT รักษาแบบใช้ยาระงับ ควรทำในห้องผ่าตัดหรือห้องที่มีเครื่องช่วยหายใจ
Unmodified ECT รักษาด้วยไฟฟ้าที่ไม่ใช้ยาระงับความรู้สึก ขณะทำการรักษษ ผู้ป่วยจะรู้สึกตัวก่อนที่จะผ่านกระแสไฟฟ้า
ข้อบ่งชี้การรักษาด้วยไฟฟ้า
ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางอารมณ์์ (affective disorders หรือ mood disorders) ท่ีความผิดปกติทางอารมณ์2ชนิดคือ 1.อารมณ์ซึมเศร้า 2.อารมณ์คลุ้มคลั่ง
ผู้ป่วยโรคจิตเภท (Schizophrenia)โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการเคลื่อนไหวผิดปกติรุนแรง
การรักษาด้วยไฟฟ้าหลังจากที่ให้การรักษาชนิดอื่นไปแล้ว
ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา
ผู้ป่วยทนทานผลข้างเคียงของยาไม่ได้
ผู้ป่วยโรคจิตที่มีอารมณ์ร่วมม (Schizoaffective disorder) ที่มีอาการแสดงของอารมณ์ที่รุนแรง
(Primary use of ECT)
ต้องการผลที่รวดเร็วแน่นอน
มีประวัติตอบสนองต่อยาที่ไม่ดี
กลุ่มอาการParkinsonism’s diseaseที่เกิดจากฤทธิ์ข้างเคียงของยารักษาโรคจิต
ข้อห้ามและข้อควรระวังในการรักษาด้วยไฟฟ้า
การมีพยาธิสภาพในสมอง (space-occupying lesion) เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดสมองบวม หรือสมองเลื่อน
ความดันโลหิตสูงอย่างรุนแรง(severe hypertension)ถ้าจะทำECTต้องควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในภาวะปกติก่อน
ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น(increased intra-cerebral pressure) หรือ ภาวะที่เสี่ยงต่อการเกิดเลือดออกในสมอง(cerebral bleeding)
ภาวะอื่นๆ เช่น การหลุดลอกของเยื่อภายในลูกตา (retinal detachment)
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (myocardial infarction)
จำนวนครั้งและความถี่ของการรักษาด้วยไฟฟ้า
ขึ้นอยู่กับลักษณะของผู้ป่วยแต่ละราย ได้แก่ โรคระดับความรุนแรง และการตอบสนองต่อการรักษาด้วยไฟฟ้า
ส่วนใหญ่รักษาด้วยไฟฟ้าความถี่ 3ครั้งต่อสัปดาห์
ลักษณะและระยะของการชัก
3.ระยะกระตุก (clonic phase)นาน15-30วินาที
4.ระยะหลับ(sleep phase) ผู้ป่วยหลับประมาณ5นาที ไม่เจ็บปวด
2.ระยะเกร็ง (tonic phase)นานประมาณ5-15วินาที
5.ระยะสับสน(confuse phase)ผู้ป่วยจะมีอาการมึนงง สับสน กระวนกระวาย
1.ระยะหมดสติ(unconscious phase)ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ประมาณ 1-2วินาที
ระดับความรุนแรงของการชัก
ระดับที่2 การชักที่มากขึ้นถึลข้อมือและข้อเท้า แต่ไม่ถึง ข้อศอกหรือข้อเข่า
ระดับที่3การชักที่มากขึ้นเห็นชัดที่ข้อศอก ข้อเข่า แขน หรือเข่ายกลอยจากพื้นเตียง
ระดับที่1 การชักที่หน้า คอปลายนิ้วมือหรืเท้า แต่ไม่ถึงข้อมือหรือข้อเท้า
ระดับที่4 การชักที่รุนแรง สังเกตุได้ชัดทั่วร่างกาย รวมทั้งที่หลัง สะโพก ไหล่ยกลอยจากพื้นเตียง
นางสาวอามีเน๊าะ สุลง 6401110801042