Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 1 ระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติกับการเกษตร - Coggle Diagram
หน่วยที่ 1 ระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติกับการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับสิ่งแวดลอ้ม ทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศ
ความหมายของสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และระบบนิเวศ
สิ่งแวดล้อม คือ สรรพสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวสิ่งมีชีวิต ทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิตอื่น และสิ่งไม่มีชีวิต ท้ังที่เป็นรูปธรรมซึ่งสามารถจับต้องและมองเห็นได้ และที่เป็นนามธรรม จับต้องไม่ได้และมองไม่เห็น
ทรัพยากรธรรมชาติ คือ สิ่งทั้งปวงที่ถือว่ามีค่า ซึ่งเกิดขึ้นเองหรือมอียู่ตามธรรมชาติโดยอาจเป็นวตัถุอนั มรีูปร่าง หรือเป็นสิ่งที่ไม่มรีูปร่างกไ็ด้
ระบบนิเวศ คือ ระบบที่แสดงถึงสภาพความเป็นอยู่ร่วมกันของสิ่งท้ังหลายทั้งไม่มีชีวิตและมีชีวิตในถิ่นที่อยู่อาศัย ซึ่งจะมีระเบียบความสัมพันธ์และมีกลไกที่สามารถรักษาให้ระบบอยู่ในภาวะสมดุล(steady state or equilibrium) ได้เป็นอย่างดี
ประเภทของทรัพยากร
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดสิ้นไป
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วทดแทนได้
ทรัพยากรที่มนุษย์เข้าไปมีส่วนดัดแปลงหรือสร้างขึ้น (man-related resources หรือ man-made resources)
ทรัพยากรชีวกายภาพ
ทรัพยากรเศรษฐสังคม
ประเภทของระบบนิเวศ
ระบบนิเวศบนบก
ระบบนิเวศแบบทุนดรา
ระบบนิเวศแบบป่าสนในซีกโลกเหนือ
ระบบนิเวศแบบป่าผลัดใบเขตอบอ่น
ระบบนิเวศแบบทุ่งหญ้าเขตอบอ่น
ระบบนิเวศแบบทะเลทราย
ระบบนิเวศแบบป่าอบอุ่นชื้น
ระบบนิเวศแบบป่ าร้อนชื้นหรือป่ าฝนเขตร้อน
ระบบนิเวศแบบทุ่งหญ้าเขตร้อน
ระบบนิเวศแบบป่าแคระและป่าผลัดใบในเขตร้อน
ระบบนิเวศในน้ำ
ระบบนิเวศน้ำจืด
ระบบนิเวศทะเลสาบน้ำจืด
ระบบนิเวศที่ลุ่มชื้นแฉะและป่าพรุ
ระบบนิเวศแม่น้ำ
ระบบนิเวศน้ำกร่อย
ระบบนิเวศชะวากทะเล
ระบบนิเวศดินดอนสามเหลี่ยม
ระบบนิเวศน้ำเค็ม
ระบบนิเวศพื้นที่ชายหาดระหว่างน้ำขึ้นน้ำลง
ระบบนิเวศเขตทะเลตื้น
ระบบนิเวศเขตท้องมหาสมุทร
ระบบนิเวศเกษตร
มีเกษตรกรเข้าไปบริหารจัดการระบบนิเวศ
มีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตไม่มากชนิดเท่าระบบนิเวศธรรมชาติและใกล้ธรรมชาติ
ห่วงโซ่อาหารสั้นและระบบของสายใยอาหารซับซ้อนน้อยกว่า
เป็นระบบเปิดมากกว่าระบบนิเวศตามธรรมชาติ
เสถียรภาพของระบบอยู่ในระดับต่ำ
ระบบนิเวศเมืองและอุตสาหกรรม
องค์ประกอบของระบบนิเวศ
ส่วนที่เป็นอชีวัน หรือสิ่งไม่มีชีวิต
อนินทรียวัตถุที่หมุนเวียนอยู่ในวัฏจักรของสสาร
อินทรียวัตถุ
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ส่วนที่เป็นชีวันหรือสิ่งมีชีวิต
ผู้ผลิต
ผู้บริโภค
ผู้ย่อยสลาย
อิทธิพลของมนุษยแ์ละการเกษตรต่อระบบนิเวศ
ปัญหามลพิษและความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
ปัญหามลพิษทางน้ำ มลพิษทางน้ำ หรือ “น้ำ เสีย” หมายถึง การที่น้ำ มีสิ่งเจือปนเกินมาตรฐาน ทำให้คุณลักษณะทางกายภาพของน้ำ เปลี่ยนแปลงไป และเป็นอันตรายต่อมนุษย์สัตว์และพืช
ปัญหามลพิษทางอากาศ มลพิษทางอากาศ หมายถึง ภาวะของอากาศที่มีสารเจือปนอยใู่นปริมาณที่มากพอและเป็นระยะเวลานาน จนทา ให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์สัตว์พืช และวัสดุต่างๆ สารเจือปนดังกล่าวอาจอยใู่นรูปของก๊าซหยดของเหลว หรืออนุภาคของแข็งก็ไ็ด้
ปัญหามลพิษทางเสียง มลพิษทางเสียง หมายถึง สภาพแวดล้อมที่มีเสียงดังเกินค่ามาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด (ค่าระดับ เสียง
เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบล) ซึ่งก่อใหเ้กิดความรำคาญ สร้างความรบกวน ทำใหเ้กิดความเครียดท้ั้งทาง
ร่างกายและจิตใจ ทำให้ตกใจ และอาจถึงขั้น เป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยได้
ปัญหามลพิษทางดิน มลพิษทางดิน หมายถึง ภาวะที่ดินเสื่อมค่าไปจากเดิม และ/หรือมีสารมลพิษปนเป้ือนอยู่ในดินมากกว่าขีดจำกัดจนเป็นอันตรายต่อสุขภาพ และพลานามัย ตลอดจนการเจริญเติบโตของมนุษย์สัตว์ พืช และสิ่งมีชีวิตต่างๆ
ปัญหามลพษิทางขยะและสิ่งปฏิกล
ปัญหามลพษิทางการเกษตรและสารเคมีปราบศัตรูพืช
ปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
การผลิตทางการเกษตรกับระบบนิเวศ
ผลกระทบของการเกษตรต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
การลดลงของพื้นที่ป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพ
การเสื่อมโทรมของคุณภาพดิน
การสูญเสียพนัธ์ุพืชและพนัธ์ุสัตว์พื้นเมือง
การเกิดมลพิษจากสารเคมีการเกษตร
ผลกระทบของการเกษตรต่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต
ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และสังคม
ผลกระทบทางวัฒนธรรม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อความยั่งยืนทางการเกษตร
ความยั่งยืนทางเศรษฐศาสตร์
ความยั่งยืนของความหลากหลายทางชีวภาพหรือระบบนิเวศ
ความยั่งยืนทางคุณภาพชีวิต
การผลิตทางการเกษตรโดยอาศัยหลักนิเวศธรรมชาติ
มีความหลากหลายของชนิดพืชและสัตว์
มีความซับซ้อนของระบบ
มีความปฏิสัมพันธ์ในระบบ
มีการคัดเลือกตามธรรมชาติ
บทบาทของการส่งเสริมการเกษตรเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การสร้างจิตสำนึกและความตระหนัก
การบำบัดและฟื้นฟู
สถานการณ์และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย
สถานการณ์และการใช้ทรัพยากรดินและที่ดินในประเทศไทย
การใช้ที่ดินไม่ตรงตามสมรรถนะของที่ดินหรือไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
การชะล้างพังทลายของดิน
การเสื่อมโทรมโดยคุณสมบัติของดินเอง ซึ่งครอบคลุมถึงความเสื่อมโทรมของดินทางกายภาพ
ชีวภาพ และทางเคมี
การเสื่อมโทรมเนื่องจากพิบัติภัยธรรมชาติซึ่งอาจไม่ได้เกิดขึ้นเป็นประจำ
ปัญหาการถือครองที่ดิน
สถานการณ์และการใช้ทรัพยากรป่าไม้และความ
หลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย
การบุกรุกพื้นที่ป่าเพื่อยึดครองพื้นที่เป็นกรรมสิทธิ์ และการลักลอบตัดไม้ทำลายป่า
การลักลอบล่าสัตว์ การส่งเสริมการท่องเที่ยว และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ไฟป่า
สถานการณ์และการใช้ทรัพยากรแหล่งน้ำ
ในประเทศไทย
สถานการณ์น้ำผิวดิน
สถานการณ์น้ำบาดาล
สถานการณ์การใช้น้ำ
สถานการณ์และการใช้ทรัพยากรประมงในประเทศไทย
การประมงทะเล
การประมงน้ำจืด
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ