Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 แนวคิดในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อการจัดการทรัพยากรสู่ควา…
หน่วยที่ 2 แนวคิดในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อการจัดการทรัพยากรสู่ความมั่นคงทางอาหาร
แนวคิดของการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒ นาการเกษตร
แนวคิดของการส่งเสริมการเกษตร
การส่งเสริมการเกษตร หมายถึง การเผยแพร่และการถ่ายทอดความรู้ทัก ษะ ประสบการณ์และการให้บริการอื่น ๆ ที่ทันสมัยและจำเป็นสำหรับการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร โดยให้ความสำคัญกับกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยเกษตรกร ครอบครัวเกษตรกร และบุคคลอื่นที่สนใจ โดยมุ่งหวังให้กับกลุ่มเป้าหมายสามารถช่วยเหลือตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
แนวคิดของการพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาการเกษตร หมายถึง การวางแผน และการดำเนินการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรที่มุ่งหวังการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบเพื่อที่จะยกระดับมาตรฐานการผลิตทางการเกษตร โดยมีจุดมุ่งหมายในการเพิ่มคุณภาพชีวติและพัฒนาความเป็นอยู่ของเกษตรกร สังคม และสาธารณชนให้ดีขึ้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาภาคการเกษตร สังคม และสาธารณชนใหเ้กิดความยั่งยืน
แนวคิดของการจัดการทรัพยากรการเกษตร
การจัดการทรัพยากรเกษตรเกี่ยวขอ้งโดยตรงกับการบริหารบุคคล องค์กรและธุรกิจการเกษตรให้สอดคล้องและตอบสนองกับความต้องการของตลาดและผู้บริโภครวมท้ั้งการวางแผนในกิจกรรม ต่าง ๆ เพื่อให้การดำ เนินงานด้านการเกษตรมีประสิทธิภาพเพื่อให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพดีและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรเพื่อการเกษตร
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรดินเพื่อการเกษตร
การป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน
การป้องกันการแพร่กระจายของดินที่มีปัญหาจากแหล่งกำเนิดไปยังพื้นที่อื่น
การปลูกพืชบำรุงดิน
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตร
พัฒนาระบบชลประทานเพื่อการเกษตรมาอยา่งต่อเนื่องยาวนาน
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรน้ำ เพื่อการเกษตรต้องให้ความสำคัญ กับการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เพื่อการเกษตร
ทรัพยากรน้ำใต้ดิน
การบริหารจัดการรูปแบบการใช้ประโยชน์ทรัพยากรน้ำ
การพัฒนาแหล่งน้ำ เพื่อเก็บกักน้ำไว้ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตร
การขุดสระเก็บสำรองน้ำในพื้นที่การเกษตรของตนเอง
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้เพื่อการเกษตร
ระบบวนเกษตร หมายถึง ระบบการบริหาจัดกรรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรเกษตรแบบผสมผสานในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเพื่อส่งสริมสนับสนุนการเพิ่มผลผลิตจากการดำเนินกิจกรรมด้านการป่าไม้ การเกษตรกรรม การกสิกรรม การปศุสัตว์ และการประมง ตลอดจนกิจกรรมอื่นที่เกี่ยวข้อง
โดยให้ความสำคัญกับการรักษาความสมดุลตามธรรมชาติของระบบนิเวศเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม ภายใต้ศักยภาพและข้อจำกัดของพื้นที่
การจัดการสิ่งแวดล้อมทางการเกษตรเพื่อความมั่นคงทางอาหาร
การจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
รูปแบบของมลพิษสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
มลพิษทางการเกษตรที่เกิดขึ้นเฉพาะในพื้นที่การเกษตร
มลพิษทางการเกษตรที่แพร่กระจายออกนอกพื้นที่การเกษตร
มลพิษทางการเกษตรที่สะสมอยู่ในพื้นที่
มลพิษสิ่งแวดล้อมจากการเกษตรที่สำคัญ
การเกิดมลพิษทางน้ำ
การเกิดมลพิษทางดิน
การจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
การลดปริมาณ ณ แหล่งกำเนิด
การบำบัด
การนำกลับมาใช้ใหม่
การคัดแยก
การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความมั่นคงทางอาหาร
สิทธิการถือครองที่ดิน
การได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกและปัจจัยสนับสนุนการผลิตทางการเกษตร
การสร้างหลักประกันด้านผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากการผลิตทางการเกษตร
การดำรงไว้ซึ่งวิถีชีวิตและองค์ความรู้ภูมิปัญญา
รูปแบบการบริหารจัดการทางการเกษตร