Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคมะเร็งจอประสาทตาในเด็ก (Retinoblastoma) - Coggle Diagram
โรคมะเร็งจอประสาทตาในเด็ก (Retinoblastoma)
มะเร็งจอตาในเด็ก แบ่ง ชนิดได้เป็น 2 กลุ่ม
ชนิดที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมไปยังลูกหลานได้
ชนิดที่ไม่ถ่ายไปยังลูกหลาน Somatic mutation
อาการและอาการแสดง
ภาวะตาเหล่พบได้เป็นอันดับรองลงมา ประมาณ 20 - 30 %
ตาอักเสบตาแดง ม่านตา 2 ข้างสีไม่เหมือนกัน
ปวดตา และมีการอักเสบของเนื้อเยื่อรอบๆลูก
ลูกตาฝ่อ
การรักษา
การใช้แสงเลเซอร์ (photo coagul ation ) เหมาะสำหรับกำจัดก้อนมะเร็งขนาดเล็กกว่า 4
DD (disc diameters; 1 DD = 1.5 mm.)
การจี้ด้วยความเย็น (cryotherapy) จี้ก้อนมะเร็งและทำลายหลอดเลือดเล็กๆที่จะไปเลี้ยง
ก้อนมะเร็ง เหมาะสำหรับก้อนมะเร็งที่มีขนาดใหญ่
รังสีรักษา โดยทั่วไปมะเร็งจอตา จะตอบสนองต่อการรักษาด้วยรังสีรักษาได้ดี มักใช้ในกรณีเป็นตาข้าง
เดียวระยะที่ และ 2 ทำในรายที่กลับเป็นซ้ำ ก้อนใหญ่ไม่สามารถผ่าตัดออกได้
การใช้เคมีบำบัด มีบทบาทน้อยมากเพราะผ่านเข้าลูกตาได้น้อย
การพยาบาล
ในรายที่ต้องได้รับการรักษาโดยเอาลูกตาออก พ่อแม่มักจะวิตกกังวลมาก จนบางครั้งปฏิเสธ
การรักษา
พยาบาลควรแก้ไขปัญหาโดยอธิบายให้พ่อแม่เข้าใจ และดูแลสภาพจิตใจของพ่อแม่ แนะนำและ
ให้ข้อมูลที่เป็นจริง
อธิบายให้เห็นถึงความจำเป็นที่ต้องเอาลูกตาออกเพื่อรักษาชีวิต
บอกให้ทราบถึงสภาพลูกตาหลังผ่าตัด หลังการผ่าตัดจะไม่เห็นเป็นรูกลวง ศัลแพทย์จะทำการ
ตกแต่งให้คงรูปร่างเดิมไว้ เพียงแต่หนังตาเด็กจะปิดตลอด
สาเหตุ
ของการเกิดมะเร็งจอประสาทตายังไม่ทราบแน่ชัด แต่พบว่าผู้ป่วยหลายรายสัมพันธ์กับความผิดปกติของยีนที่ชื่อ RB ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการแบ่งเซลล์และการตายของเซลล์ในร่างกายของคนปกติ ดังนั้นผู้ที่มีความผิดปกติของยีนดังกล่าวในเซลล์สืบพันธุ์จะมีความเสี่ยงที่จะมีลูกเป็นโรคมะเร็งจอประสาทตาได้และผู้ป่วยมะเร็งจอประสาทตาเองก็มีความเสี่ยงสูงที่จะมีลูกเป็นโรคมะเร็งจอประสาทตาเช่นกัน