Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษในแต่ละวัย,…
การป้องกันและการช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษในแต่ละวัย
จมนํ้า
ประเภทผู้ป่วย
Blunted : ซึม + หายใจลำบาก
Comatose : ไม่รู้สึกตัว + หายใจผิดปกติ
Awake : รู้สึกตัวดี
ได้รับสารพิษและยาเกินขนาด
ชนิดของสารพิษ
สารตะกั่ว ; สีทาบ้าน สีย้อมผ้า สีทาของเล่น นํ้ายากันสนิม
สารกัดกร่อน ; นํ้ายาล้างสุขภัณฑ์ นํ้ายาล้างห้องนํ้า
ทำความสะอาดเสื้อผ้า/ร่างกาย ; ผงซักฟอก นํ้ายาซักแห้ง สบู่ก้อน/สบู่เหลว
ไฮโดรคาร์บอน ; นํ้ามันก๊าด นํ้ามันเบนซิน
ยาฆ่าแมลง ; นํ้ายาฆ่าแมลงในผักผลไม้ ยาฆ่าปลวก
ยารักโรค ; แอสไพริน พาราเซตามอล
เอาสารพิษออกจากร่างกาย
ทำให้อาเจียน
ล้างท้อง
ให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำ
เปลี่ยนถ่ายเลือด
ป้องกันการดูดสารพิษเข้าสู่ร่างกาย
สารพิฤทธิ์เป็นด่าง : ดื่มนํ้า/นมมากๆ
สารพิษฤทธิ์เป็นด่าง : ดื่มนํ้าผลไม้
ให้ activated charcoal
ให้ยาแก้พิษ
ประคับประคองสัญญานชีพให้เป็นปกติ
ให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำ
สูดสำลักสิ่งแปลกปลอม
เด็กรู้ตัว
อายุ >1 : Back blow + Chest thrust
อายุ <1 : จับเด็กนั่ง พยุงหน้าอกเด็ก ให้ศรีษะอยู่ในระดับเดียวกันกับหน้าอกหรือตํ่ากว่า ใช้สันมือกระแทกบริเวณกลางสะบัก
เด็กโต : จับเด็กนั่งและตบหลังเช่นเดียวกับเด็กเล็ก
เด็กไม่รู้สึกตัว
เด็กเล็ก : ตบหลังแล้วไม่ได้ผล + เด็กเริ่มไม่รู้สึกตัว
ให้ทำการช่วยหายใจ+ ฟื้นคืนชีพ
เด็กโต : ใช้วิธีกระแทกท้องใต้ลิ้นปี่ในท่านอน (Heimlich maneuver)
การป้องกัน
ผู้ปกครองฝึกวิธีการช่วยชีวิตเมื่อสำลักสิ่งแปลกปลอม
ไม่ป้อนอาหารแข็งที่มีโอกาสสำลักได้ จนกว่าจะอายุ 4 ปี
ฝึกให้นั่งรับประทานเสมอ ห้ามเดินหรือวิ่งเล่น
ตัดอาหารเป็นชิ้นเล็กๆ
หลีกเลของเล่นชิ้นเล็กๆ
เก็บของชิ้นเล็กๆให้พ้นมือเด็ก
ห้ามให้เด็กเล่นเหรียญ
ไม่ปล่อยเด็กให้อยู่ลำพังกับของชิ้นเล็ก
แผลไฟไหม้และนํ้าร้อนลวก
การช่วยเหลือเบื่องต้น
กำจัดสาเหตุของความร้อน : ถอดเสื้อผ้า
ทำให้ส่วนที่มีความร้อนเย็นลง : ใช้นํ้าเย็นประคบ/ราด
ห้าใช้นํ้ายาฆ่าเชื้อที่มีแอลกอฮอล์ :; ยาสีฟัน
ถ้าแผลกว้าง ให้ใช้ผ้าสะอาดคลุมแผล
กรณีไฟไหม้เสื้อผ้า
ใช้นํ้าดับไฟ
ถ้าไม่มีนํ้า ใช้ผ้าหนาๆห่อตัวเด็กแล้วนอนลง
ตัดเสื้อผ้าที่ไหม้ออก
กรณีไฟฟ้าดูด
ปิดสะพานไฟ
ถ้าไม่สามารถปิดสะพานไฟได้ ให้เขี่ยสายไฟออกจากตัวเด็ก
ถ้าเดไม่มีอาการผิดปกติ ให้นอนพักและสังเกตอาการ
ถ้าหมดสติ/หยุดหายใจ ทำการฟื้นคืนชีพ CPR และนำส่งโรงพยาบาล
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผลจากความร้อน
First degree burn : ล้างแผลด้วยนํ้าเกลือ ซับผ้าแห้ง ทาเจลว่านหางจรเข้
Second degree ขนาดไม่กว้าง : ล้างแผล ทายา ปิดทับด้วย biologic dressing ใช้ผ้าก๊อซหลายๆชั้นปิดทับอีกครั้ง
Second degree แผลกว้าง : ทาแผลด้วย topical chemotherapeutic agent ปิดทับด้วย non-adherent dressing และผ้าก๊อซหลายๆชั้น
การดูแลช่วยเหลือเมื่อเด็กเกิดอุบัติเหตุเพลิงไหม้นํ้าร้อนลวก
กำจัดสาเหตุของความร้อน
ใช้นํ้าเย็นประคบชโลมแผล
ใช้นํ้าสะอาดล้างแผลก่อนส่งโรงพยาบาล
สัตว์กัด/ต่อย
การป้องกัน
สอนเด็กหลีกเลี่ยงการเล่นกับสัตว์ที่ไม่ได้เลี้ยงไว้เอง
สอนเด็กเล่นกับสัตว์ที่เลี้ยงอย่างถูกวิธี
ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้สัตว์เลี้ยงในบ้าน
จัดบ้านให้เป็นระเบียบป้องกันสัตว์มีพิษ
ไม่ให้เด็กเล่นที่มีหญ้ารก
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ผึ้งใน แตน ต่อ แมลงกัดต่อย
รีบเอาเหล็กในออกทันที
ถ้าไม่รุนแรง ให้ล้างด้วยนํ้าสบู่ ถ้าบวมแดง ให้ทาครีมที่มีส่วนผสมของสเตียรอยด์
ถ้ารุนแรงให้พาไปพบแพทย์
สุนัข แมว ลิง กระรอกกัด
ถ้ามีแผล ให้ทำความสะอาดแผลทันที
พาไปพบแพทย์ฉีดยาป้องกันบัดทะยัก
งูกัด
ปลอบเด็กไม่ให้ตกใจ เพื่อไม่ให้เลือดสูบฉีดเร็วขึ้น
ทำความสะอาดแผลด้วยยาฆ่าเชื้อ
ไม่ควรเอาใบไม้มาแปะแผล
ตำแหน่งที่ถูกกัด ให้เคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ใช้ผ้ารัดเหนือแผล 2-4 นิ้ว
อย่าใช้มีดกรีดแผล เพราะจะทำให้เลือดออกมาก
ถ้าปวดแผลให้ทานพาราเซตามอล ห้ามทานแอสไพริน
ห้ามให้เด็กดื่มแอลกอฮอล์หรือยาดอง อาจจะเกิดอาการสำลัก
นำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
ถ้างูกัดไม่มีพิษ รักษาเหมือนแผลทั่วไป
อาการแพ้รุนแรง
สาเหตุ
แพ้อาหาร
แพ้ยา
แพ้แมลงกัดต่อย
การรักพยาบาลในระยะเฉียบพลัน
ซักประวัติอย่างละเอียด
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
Airway : ประเมิน/แก้ไข เรื่องทางเดินหายใจ
Breathing : ประเมิน/แก้ไขการหายใจ
Circulation : ประเมิน/แก้ไข การไหลเวียนโลหิต
Drug : การให้ยา
การช่วยเบื้องต้น
2) Head tilt-chin lift
3) Mouth-to-mouth breathing
4)Chest compression
5) นำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
1) รีบนำผู้ป่วยขึ้นจากนํ้า