Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก - Coggle Diagram
การบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
การรักษาออกซิเจน
(oxygen Therapy)
การให้ในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล
(Acute care setting))
ให้ที่บ้าน
(Home oxygen therapy)
Oxygen delivery device
ทารกหรือเด็กเล็ก ควรใช้ nasal cannula
อุปกรณ์ที่ใช้ในการบำบัดด้วย O2
แหล่งกระจายออกซิเจน
(OXYGEN SOURCE)
Compressed gas cylinder
ใช้ในผู้ป่วย Oxyfen flow ต่ำ
เครื่องผลิต O2
Oxygen concentrator
ใช้ O2 ต่อเนื่องระยะยาว
ผลิต O2 ในความเข้มข้นสูง
โรคระบบทางเดินหายใจ COPD
การนำออกซิเจนเหลว
Liquid oxygen system
จ่ายก๊าซเป็นระยะๆ ลดการสิ้นเปลือง
ข้อบ่งชี้
ผู้ป่วยที่มีภาวะร่องออกซิเจน
PaO2 ในเลือด < 60 มม.ปรอท
SpO2 < 90%, PaO2 ในเลือด < 50 มม.ปรอท
มีลมรั่วในเยื่อหุ้มปอด
(pneumothorax)
ชนิดของออกซิเจน
Variable performance (low-flow) system
อัตราการไหลออกซิเจนต่ำกว่าอัตราการไหลของอากาศขณะหายใจเข้า
ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ผู้ป่วยได้รับไม่คงที่
มีการดึงเอาอากาศจากความดันบรรยากาศเข้าผสมทุกครั้งที่หายใจ
nasal cannula
ทารก < 2 L/min
เด็กโต < 6
FiO2 24-40%
Bubble humidifier
face mask
oxygen hood/box
,= 7 L/min
FiO2 30-70%
Jet nebuliaer
Simple mask
5-10 L/min
FiO2 35-50%
Bubble humidifier
mask with reservoir bag
6-10 L/min
FiO2 40-60%
Bubble humidifier
oxygen tent
10-15 L/min
FiO2 40-50%
Jet nebulizer
Non-rebreathing mask
,=10 L/min
FiO2 60-80%
Bubble humidifier
Fixed performance (high-flow) system
อัตราการไหลออกซิเจนสูงกว่าอัตราการไหลของอากาศขณะหายใจเข้า
ความเข้มข้นของออกซิเจนคงที่ตลอดการหายใจเข้า
oxygen blender
venturi mask
High flow nasal cannula
T-piece
ผลข้างเคียง
ให้ O2 สูง > 50%
absorptive atelectasis
oxygen toxicity
Carbondioxide คั่งนานๆ
แก้ภาวะ hypoxemia
กดการหายใจผู้ป่วย
ทารกเกิดก่อนกำหนด PaO2 สูงกว่า 80มม.ปรอท
retinopathy of prematurity
การใช้เครื่องช่วยหายใจ
Noninvasive ventilation
ไม่ต้องอาศัย artificial airway
การดูแลขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
เลือกขนาดที่มีความเหมาะสมกับจมูกและรูปหน้า
ปรับสายรัดไม่ให้แน่นเกินไป
ระยะแรกเริ่มจากความดันบวกระดับต่ำ เมื่อคุ้นเคยค่อยๆปรับเพิ่มขึ้น
ปรับความดันการหายใจเทียบเท่ากับปกติ
ป้องกันไม่ให้ทางเดินหายใจแห้ง
ข้อดี
ไม่จำเป็นต้องถูกใส่ท่อหลอดลมคอ ไม่ต้องเจาะคอ
ลดอันตรายต่อกล่องเสียและหลอดลม
ลดการใช้ยานอนหลับ, กล่อมประสาท, คลายกล้ามเนื้อ
ลดความเสี่ยงต่อ Nosocomial pneumonia
ข้อจำกัด,ข้อเสีย
ผู้ป่วยไม่ร่วมมือสวมใส่หน้ากาก
อึดอัดกับหน้ากากที่ครอบจมูก,ปาก มีลมรั่วรอบหน้ากาก
ท้องอืดจากลมอัดเข้าในท้อง
เยื่อบุตาแห้ง มีรอยแผลกดทับบริเวณที่ครอบหน้ากาก
ผู้ป่วยมีปัญหามาก เสมหะคั่งค้าง,อุดตัน เนื่องจากไม่มีหลอดลมช่วยระบายเสมหะ
invasive ventilation
อาศัย artificial airway
ชนิดเครื่องช่วยหายใจ
กลุ่มที่ให้ความดัน 2 ระดับ
(bi-level positive airway pressure, BiPAP)
ตั้งค่าแรงดัน
ช่วงหายใจเข้าสังเกตการขยายตัวทรวงอก
ฟัง air entry ปอด 2 ข้าง
อัดก๊าซหรือลมด้วยความดันสูงช่วงที่หายใจเข้า
ผ่อนความดันลงช่วงหายใจออก
กลุ่มความดันบวกคงที่
continuous positive airway pressure, CPAP)
ตั้งค่าแรงดัน
สังเกตอาการแสดงการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน
เสียงกรน
stridor
air entry
ความดันสูงเกินไป
central apnea
ใช้กับผู้ป่วยที่มีปัญหาทางเดินหายใจอุดกั้น
แรงดันบวกช่วยลดการตีบแคบทางเดินหายใจส่วนบน
หน้ากากมี 3 แบบ
ครอบเฉพาะรอบจมูก
ครอบทั้งจมูกและปาก
Nasal pillows มีรูเปิด 2ท่อสอดเข้าไปในรูจมูก 2 ข้าง
การบำบัดรักษาโดยการให้ความชื้น
(HUMIDITY THERAPY)
รักษาโดยให้ฝอยละอองน้ำ
อากาศอุ่น,ชื้นขึ้นก่อนเข้าปอด
รักษาสมดุลในการทำงานของเซลล์ทางเดินหายใจ
ข้อบ่งชี้
-ผู้ป่วยมีปัญหาที่ต้องได้รับ O2 ทางท่อช่วยหายใจ
-มีเสมหะเหนียวข้น จำเป็นต้องระบายเสมหะ เช่น โรคหลอดลมโป่งพอง (bronchiectasis)
-เก็บเสมหะส่งตรวจห้องปฏิบัติการ
การประเมิน
bubble humidifier
สังเกตลมปุดใต้น้ำ
ไม่มีลมปุดใต้น้ำ เกิดจากเกลียวต่อระหว่างท่อนำก๊าซกับ flow meter ไม่แน่น
อุปกร์บางส่วนอุดตัน
การให้ยาพ่นฝอยละออง
(AEROSOL THERAPY))
ให้ฝอยละอองน้ำหรือยาเข้าทางเดินหายใจ
เพิ่มความชุ่มชื้นในระบบหายใจ
การบริหารยาทางระบบหายใจ
jet nebulizer
การดูแลรักษาอุปกรณ์
-ล้างด้วยน้ำสบู่,น้ำเปล่า ทิ้งให้แห้งหลังใช้งานทุดครั้ง
-แช่ 2.5% acetic acid วันละ 30 นาที
continuous nebulizer
ultrasonic nebulizer
การดูแลรักษาอุปกรณ์
ถอดล้างและแช่น้ำยา glutaraldehyde นาน30นาที ทุก 24 ชม.แล้วล้างน้ำสะอาด
-ผึ่งให้แห้ง,เป่าแห้ง
pressurized metered dose inhaler (p-MDI)
การดูแลรักษาอุปกรณ์
ทำความสะอาดถอดหลอดยาส่วนที่เป็นโลหะออกจากส่วนพลาสติก
-เช็ดด้วยผ้าชุบหมาดๆ ห้ามนำ canister แช่น้ำ
dry powder inhaler (DPI)
การดูแลรักษาอุปกรณ์
ใช้ผ้าชุบน้ำหมาด เช็ดด้านนอกหลอดยา ทิ้งไว้จนแห้ง ปิดฝาให้สนิท ห้ามนำหลอดยาแช่น้ำ
ข้อบ่งชี้
เสมหะเหนียวข้น ไม่สามารถไอเอาเสมหะออกได้
เก็บเสมหะส่งตรวจห้องปฏิบัติกา
อุปกรณ์ที่ใช้
Nebulization
ใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการเฉียบพลัน ไม่สามารถใช้ p-MDI หรือ DPI ได้
ยาที่ใช้ ยาขยายหลอดลมชนิด liquid solution เช่น salbutamol terbutaline
ใช้รักษาโรคหอบหืด ,COPD
Pressurized metered-dose inhaler
เป็นชนิดฝอยละออง ยาขยายหลอดลม, ยาcorticosteriod
เป็นยาที่ใช้ลดการอักเสบ เพื่อรักษาโรคหอบหืด
Dry powder inhaler
เป็นชนิดฝอยละออง
อนุภาคยาอยู่ในรูปผง
ภาวะแทรกซ้อน,ผลข้างเคียง
ทางเดินหายใจติดเชื้อจากน้ำยาพ่นฝอยละอองหรืออุปกรณ์
Jet nebulizer, ultrasonic nebulizer
หลอดลมหดเกร็ง (bronchospasm)
แพ้ยาพ่นฝอยละออง
ขาด O2 โดยเฉพาะเด็กเล็กหอบมากใช้ jet nebulizer พ่นยาขยายหลอดลมไม่ให้ O2
การทำกายภาพบำบัดทรวงอก
(CHEST PHYSIOTHERAPY)
ข้อบ่งชี้
ผู้ป่วยที่มีเสมหะคั่งค้างในหลอดลมจำนวนมาก เช่น ปอดอักเสบ โรคหืด หลอดลมอักเสบ
มีภาวะปอดแฟบ,การอุดตันของเสมหะ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดเกี่ยวกับหัวใจ,มีปัญหาทางระบบประสาท กล้ามเนื้ออ่อนแรง ไม่สามารถระบายเสมหะได้
การจัดท่าระบายเสมหะ
Apical segment ของ upper lobe
นั่งพิงหมอนเอียงไปด้านหลัง 30 องศา
เคาะด้านหน้าเหนือ nipple ถึงซอกคอ
ระหว่างต้นคอและหัวไหล่
Posterior segment ของ upper lobe
นั่งค้อมตัวมาด้านหน้า 30 องศา ใช้หมอนกอดรองสอดไว้ใต้ท้อง
เคาะบริเวณด้านหลังส่วนบน 2 ข้างกลางกระดูกสะบักขึ้นจนถึงซอกคอ ทั้ง 2 ข้าง
ยกเว้นแนวกระดูกสันหลัง
Anterior segment ของ upper lobe
นอนราบ ศีรษะหนุนหมอนปกติ
เคาะบริเวณหน้าอกด้านหน้า 2 ข้างเหนือ nipple
ยกเว้นตรงกลางกระดูกหน้าอก
Lingular segment ของ left upper lobe
นอนตะแคงทับด้านขวาศีรษะต่ำ 15 องศา ปลายเท้าสูง 12-14 นิ้ว เอนไปด้านหลัง 1/4
ใช้หมอนรองส่วนหลังตั้งแต่หัวไหล่ถึงหลัง สะโพก งอเข่าเล็กน้อย
เคาะบริเวณราวนมซ้าย
Right middle lobe
นอนตะแคงทับด้านซ้าย ศีรษะต่ำ 15 องศา ปลายเท้าสูง 12-14 นิ้ว เอนไปด้านหลัง 1/4
ใช้หมอนรองหลังและหัวไหล่
เคาะบริเวณราวนมขวา
Superior segment ของ lower lobe
นอนคว่ำใช้หมอนรองสะโพก
เคาะบริเวณกลางกระดูกสะบักถึงปลายกระดูกสะบักซ้ายและขวา ไม่เคาะแนวกระดูกสันหลัง
Posterior segment ของ lower lobe
นอนคว่ำศีรษะต่ำ 30 องศา ปลายเท้าสูง 18-20 นิ้ว
เคาะบริเวณชายโครงสุดท้ายใกล้แนวกระดูกสันหลังออกไปซ้ายและขวา
Anterior segment ของ lower lobe
นอนตะแคงศีรษะต่ำ 30 องศา ปลายเท้าสูง 18-20 นิ้ว
ใช้หมอนหนุนรองบริเวณใต้เข่า
เคาะบริเวณชายโครงส่วนล่างค่อนไปด้านหน้าซ้ายขวา
Lateral segment ของ lower lobe
นอนศีรษะต่ำ 30 องศา ปลายเท้าสูง 18-20นิ้วจากแนวราบ
ต้องการระบายเสมหะด้านซ้าย นอนตะแคงกึ่งคว่ำทับด้านขวา 1/4, ด้านขวา นอนตะแคงกึ่งคว่ำด้านซ้าย 1/4
เคาะบริเวณชายโครงส่วนล่างค่อนมาด้านหลัง
ข้อห้ามในการจัดท่า
-ผู้ป่วยมีภาวะความดันกระโหลกศีรษะสูง
-บาดเจ็บที่ศีรษะ คอ กระดูกสันหลัง กระดูกซี่โครงหัก
-hemodynamic instability
-ไอเป็นเลือด empyema,bronchopleuralfistula
pulmonary embolism
ภาวะแทรกซ้อนหรือผลข้างเคียง
-ภาวะพร่อง O2
-ความดันกระโหลกศีรษะเพิ่ม
-acute hypotension ในระหว่างการจัดท่าระบายเสมหะ
-อาเจียนสำลัก หลอดลมหดเกร็ง
-pulmonary hemorrhage
การเคาะปอดและการสั่นสะเทือน
เกิดแรงสั่นสะเทือนผ่านทรวงอกลงไปถึงแขนงหลอดลม
ทำให้เสมหะเกาะอยู่บริเวณทางเดินหายใจส่วนปลายค่อยๆหลุดเลื่อนไหลตามแขนงหลอดลม
ควรเคาะก่อนกินอาหาร, ขณะท้องว่าง อย่างน้อย 2 ชม. ,หลังอาหาร ป้องกันการสำลัก อาเจียน
การเคาะ
-ใช้อุ้งมือทำเป็นรูปถ้วย
-ใช้ผ้ารองส่วนบนเคาะ จังหวะสม่ำเสมอ 1-2 นาที
การสั่น
ออกแรงสั่นบนผนังทรวงอก ใช้แรงผ่านมือผู้บำบัดช่วงหายใจออกและขณะไอ
ข้อห้ามของการเคาะปอดและการสั่นสะเทือน
acute inflammatory pulmonary process
-ลมในช่องเยื้อหุ้มปอดยังไม่ได้รับการระบาย
-เลือดออกง่าย ซี่โครงหัก มีบาดแผล ,skin graft burns
-สูดสำลักสิ่งแปลกปลอม
ภาวะแทรกซ้อนหรือผลข้างเคียง
-เสมหะจำนวนมากไหลมารวมกันและอุดตันทางเดินหายใจส่วนต้น (over mobilization)
-หลอดลมหดเกร็ง ซี่โครงหัก
-การติดเชื้อ,เนื้องอกแพร่กระจาย
การระบายเสมหะ
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
หายใจเข้าลึก
ช่วงที่ไอ
ภาวะแทรกซ้อน,ผลข้างเคียง
-การไหลเวียนเลือดกลับไม่ดี
-เกิด spontaneous pneumothorax และ subcutaneous emphysema
มีโอกาสเกิดการแพร่กระจายเชื้อโรคได้
ปวดศีรษะ เจ็บหน้าอก
กลั้นหายใจ
การดูดเสมหะ
การดูดเสมหะในผู้ป่วยเด็กที่ใส่ท่อหลอดคอ
(tracheostomy tube)
การเลือกขนาดของสายดูดเสมหะ
สายดูดเสมหะขนาด 6,8, 10 French ใช้บ่อยในผู้ป่วยเด็ก
กรณีเสมหะข้นเหนียวมาก ใช้สายดูดที่มีขนาดพอดีกับท่อหลอดคอได้
วิธีการดูดเสมหะโดยวิธี
1.ล้างมือให้สะอาดด้วยน้ำและสบู่ เช็ดให้แห้ง
2.ต่อสายดูดเข้ากับเครื่อง
3.เปิดเครื่อง
4.ไม่ควรหยด 0.9% NSS ยกเว้นในกรณีที่เสมหะเหนียวข้น
5.ให้ผู้ป่วยหายใจลึกๆ 3 ครั้ง , บีบ resuscitating bag 3-5 ครั้ง
6.ใส่สายดูดเสมหะเข้าไปในท่อหลอดคอ
7.ปิด thumbhole ที่สายดูดด้วยนิ้วหัวแม่มือ ถอนสายดูดด้วยวิธีการหมุนสายเป็นวงกลม วนในทิศทางเดียวกัน ใช้เวลาไม่เกิน 5 วินาที
8สามารถทำซ้ำได้จนเสมหะหมด ไม่ควรเกิน 3 ครั้ง
ควรทำ hyperventilation ดว้ ยresuscitating bag ระหว่างการดูด เสมหะซ้ำ ป้องกันภาวะขาด O2
ล้างสายดูดเสมหะด้วยน้ำสะอาดปราศจากเชื้อ
ขนาดความดันลบที่ใช้ดูด
ทารก
ใช้ความดันลบ 60-80 มม.ปรอท
ทารกคลอดก่อนกำหนด,น้ำหนักตัวน้อย
ใช้ความดันลบ 50 มม.ปรอท
เด็ก
ใช้ความดันลบ 80-100 มม.ปรอท
เพื่อกำจัดเสมหะ ท่อหลอดคอเปิดโล่ง ช่วยให้ผู้ป่วยหายใจผ่านท่อหลอดคอได้สะดวก
ข้อบ่งชี้
มีความผิดปกติทางระบบหายใจ เช่น หายใจมีเสียงเสมหะครืดคราด ไอมาก หายใจลำบาก หายใจเร็วแรง
วิธีการวัดความลึกของสาย
วัดให้มีความยาวเท่ากับแกนในของท่อหลอดคอ
วัดให้มีความยาวเท่ากับหลอดคออีกอันที่มีขนาดเดียวกัน
ข้อควรระวัง,ข้อห้าม
ความดันกระโหลกศีรษะสูง ความดันเลือดในปอดสูง
มีภาวะปอดบวมน้ำ( pulmonary edema)
มีเลือดออกในปอด (pulmonary hemorrhage)
ภาวะแทรกซ้อน,ผลข้างเคียง
ระดับO2 ในเลือดลดต่ำลง
ปอดแฟบ หลอดลมตีบ
ติดชื้อในระบบหายใจ
อาเจียน สำลัก
บาดเจ็บต่อเยื่อบุทางเดินหายใจ
การดูดเสมหะในผู้ป่วยเด็กที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
(endotracheal tube)
เพื่อกำจัดเสมหะ กระตุ้นการไอ เพื่อให้ทางเดินหายใจเปิดโล่ง
ข้อบ่งชี้
ผู้ป่วยมีเสมหะปริมาณมาก ข้น เหนียว ไม่สามารถไอได้
ฟังได้ยินเสียงปอดผิดปกติ เช่น rhonchi
นำเสมหะส่งตรวจห้องปฏิบัติการ
วิธีการวัดความลึกของสาย
วัดให้มีความลึกเท่ากับความยาวของท่อช่วยหายใจบวกกับความยาวของข้อต่อ_
หากใส่ลึกจนเกินไป เพิ่มความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บเยื่อบุทางเดินหายใจ
การล้างจมูก
สามารถใช้ร่วมการรักษาโรคจมูกอักเสบ ไซนัสอักเสบ โพรงจมูกอักเสบได้