Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่ป่วยด้วยโรคจิตเภท, นางสาวจันทิมา ดำขำ เลขที่50 …
การพยาบาลบุคคลที่ป่วยด้วยโรคจิตเภท
สาเหตุของการเกิด
-ความผิดปกติระดับโครงสร้างของสมอง
-ความผิดปกติระดับจุลภาคและระดับการทำงานของสารสื่อประสาท
-ปัจจัยทางพันธุกรรมก็มีส่วนในการทำให้เกิดโรค
-ปัจจัยที่เกิดขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ (Perinatal factors)
-ความบกพร่องของประสาทพุทธิปัญญา (neurocognitive impairment)
-ปัจจัยกระตุ้น ความสัมพันธ์ในครอบครัวไม่ดี เช่น ความสัมพันธ์double-bind และ expressed emotion
Schizophrenia
Acute phase
ผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่อาจเป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น หรือ
ผู้ป่วยปฏิเสธการรับประทานอาหาร หรือ น้ำ และเป็นระยะที่ผู้ป่วย มีอาการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา กิจกรรมการพยาบาลมุ่งเน้นความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก
Stabilization please
มุ่งเน้นการเฝ้าระวังอาการกำ เริบและการช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจเรื่องโรคจิตเภท การรักษาและการดูแลตนเอง
Maintenance phase
กิจกรรมการพยาบาลจะมุ่งเน้นการประเมินปัญหาผู้ป่วย
ตามระยะ อาการของโรคประกอบด้วย 3 ระยะ คือ ระยะเฉียบพลัน ระยะเริ่มมีอาการดีขึ้น ระยะอาการสงบ รวมทั้งมีการประสานทีมสหวิชาชีพเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแล
อาการ
อาการหลงผิด (Delusion)
ความเชื่อใดๆที่ไม่สามารถสั่นคลอนได้แม้ว่าจะมี
หลักฐานอย่างชัดเจนที่คัดค้านความเชื่อนั้น ๆ
อาการประสาทหลอน (Hallucination)
การรับรู้ทางระบบประสาทใด ๆ ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่มีสิ่งเร้า(external Stimuli) ผู้ป่วยมักจะไม่สามารถควบคุมอาการหลอนได้
พฤติกรรมการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติหรือยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ (Grossly disorganized or abnormal motorbehavior)
พฤติกรรมกระวนกระายหรือบางครั้งอาจแสดงออกเป็นพฤติกรรม catatonia
กระบวนความคิดและภาษาที่ยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ
(Disorganized thinking/speech)
ผู้ป่วยตอบไม่ตรงคำถาม (irrelevant)
มีการพูดเปลี่ยนเรื่องไปเรื่อย (looseassociation)
การใช้คำที่มีความหมายแต่ไม่เกี่ยวข้องกันมาเรียง
ประโยค (word salad)
พูดคำที่ไม่มีความหมายออกมา
เป็นภาษาใหม่ (neologist)
อาการด้านลบ (Negative symptoms)
การแสดงอารมณ์ที่ลดลง (Decreased emotional expression)
แรงกระตุ้นภายในที่ลดลง (Avolition/Arnotivation)
การพูดที่ลดลง (Alogia)
-การเข้าสังคมที่ลดลง (Asociality)
-การมีความสุขจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่เคยชอบหรือสนใจลดลง (Anbedonia)
หลักการและแนวทางการ
บำบัดรักษาผู้ป่วยโรคจิตเภท
การให้ความช่วยเหลือและรีบรักษาในระยะแรกเริ่มเน้นการสืบค้นการเจ็บป่วยในระยะแรกเริ่ม และส่งต่อผู้ป่วยไปยังผู้ เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตในเขตพื้นที่ใกล้บ้านเพื่อให้ได้รับการรักษาอย่างครอบคลุมทั้งด้านเภสัชบำบัด จิตสังคมบำบัด อาชีวะบำ บัดละสุขภาพจิตศึกษา
การรักษาในระยะเฉียบพลัน เน้นการอยู่ในโรงพยาบาลระยะสั้น สนับสนุนดูแลและแก้ปัญหาให้ ผู้ป่วยเมื่อมีอาการวิกฤตทางจิตเวชรวมทั้งการดูแลช่วยเหลือเมื่อกลับไปอยู่ที่บ้านและในชุมชน
การส่งเสริมการฟื้นฟูสภาพ
การพัฒนาระบบคุณภาพการดูแลผู้ป่วยจิตเภททุกระยะ
การบำบัดรักษา
Biological treatment
Anti-psychotic drugs
electroconvulsive therapy [ECT]
Cognitive Behavior Therapy
Supportive Psychotherapy
Psychosocial treatment
occupational therapy (อาชีวบำบัด)
Social skill training (ฝึกทักษะทางสังคม)
-family interventions (ครอบครัวบำบัด)
arts therapies (ศิลปะบำบัด)
self-management education
(การให้ความรู้ในการจัดการด้วยตัวเอง)
Case management (การจัดการรายกรณี)
Problem solving therapy
(การบำ บัดโดยใช้ทักษะการแก้ปัญหา )
นางสาวจันทิมา ดำขำ เลขที่50 ห้องB
รหัส 633020112130