Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case Study - Coggle Diagram
Case Study
Case study
นางสาวอารียา เขียววิลัย
นางสาวอินทิรา ใจเย็น
ข้อมูลมารดา
มารดาเพศหญิง อายุ 22 ปี
เชื้อชาติ ไทย
สัญชาติ ไทย
ศาสนา พุทธ
สถานภาพการสมรส คู่
ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 2
ที่อยู่ อ.สามโคก จ.ปทุมธานี
อาชีพ ว่างงาน
วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล 28 มี.ค. 2566 ถึง28 มี.ค. 2566
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
ฝากครรภ์คลอด
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 70 กิโลกรัม
ส่วนสูง 172 เซนติเมตร
น้ำหนักหลังตั้งครรภ์ 75 กิโลกรัม
มีประวัติแพ้กุ้ง
เป็นผื่นหายใจไม่ออก
คุมกำเนิดด้วยการยาคุม
รับประทานยาไม่สม่ำเสมอจึงทำให้เกิดการตั้งครรภ์
ประจำเดือนมาสม่ำเสมอทุก 28 วัน นาน 3 วัน
ได้รับวัคซีนบาดทะยัก-คอตีบ เข็มกระตุ้น
เมื่อ 28 มีนาคม 2566
ประวัติการตั้งครรภ์
G2P0A1L0
GA. 14+5 wks. By U/S
L.M.P. 15 ธันวาคม 2566
E.D.D. 21 กันยายน 2566
การตั้งครรภ์ครั้งที่ 1 Abortion ก.พ. 2565
อายุครรภ์ 4 Wks. ที่โรงพยาบาลบ้านม่วง มารดามีการขูดมดลูกหลังยุติการตั้งครรภ์ H1
วินิจฉัยโรคแรกรับ
G1P0A1L0
GA. 14+5 wks.
การเปลี่ยนแปลงระหว่างตั้งครรภ์
ไตรมาสที่ 1
ด้านจิตใจ
อารมณ์แปรปรวน
ด้านร่างกาย
มีอาการวิงเวียนศีรษะ
อ่อนเพลีย
คลื่นไส้อาเจียน
ไตรมาสที่ 2
ด้านจิตใจ
เริ่มยอมรับว่าตนเองตั้งครรภ์
หงุดหงิดง่ายขึ้น
วิตกกังวลเนื่องจากคิดว่าตนเองไม่พร้อม
ด้านร่างกาย
เริ่มทานอาหารได้ แพ้ท้องลดลง
หน้าท้องขยายเพิ่มมากขึ้น
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
เต้านมขยายขึ้น ลานนมกว้างขึ้น มีสีคล้ำมากขึ้น
การรักษาในปัจจุบัน
Triferdine 1x1 oral pc
การตรวจหน้าท้อง
28/03/2566
น้ำหนัก 75 กิโลกรัม
ขนาดมดลูก 2/3 > sp
FHS 156 ครั้ง/นาที
ความดัน 125/74 mmHg
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Blood group : group B
Rh : Positive
HbsAg : Non-Reactive
VDRL : Negative
Anti Hiv : Non-Reactive
DCIP : Negative
Hct : 34.9 %
MCV : 90.6 fL
MCH : 30.6g/dL
OF: Negative
แบบแผนข้อมูลสุขภาพที่ผิดปกติ
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
ขาดความตระหนักในการดูแลตนเองเรื่องการรับประทานอาหารและดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์
แบบแผนการพักผ่อนนอนหลับ
ผิดปกติเนื่องจากมีอาการอ่อนเพลียจากการพักผ่อนไม่เพียงพอ
แบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
ผิดปกติเนื่องจากมีความวิตกกังวลคิดว่าตนเองไม่พร้อมในการตั้งครรภ์
ข้อวินิจฉัย
ข้อวินิจฉัย ส่งเสริมการวางแผนครอบครัวและการคุมกำเนิดที่เหมาะสม
ข้อมูลสนับสนุน
S: มารดาบอกว่า "ยังไม่พร้อมมีบุตร"
S:มารดาบอกว่าคุมกำเนิดโดยใช้ยาคุมแต่ทานไม่ตรงเวลาจึงตั้งครรภ์"
O: มารดา G2P0A1L0
A: การวางแผนครอบครัว หมายถึง การวางแผนเกี่ยวกับการมีครอบครัว โดยการกำหนดไว้ล่วงหน้าก่อนการ สมรส โดยคู่สมรสต้องปรึกษาหารือร่วมกันเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตคู่ในครอบครัวว่าจะมีบุตรเมื่อใด และมีจำนวนบุตรกี่คน เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพฐานะทาง เศรษฐกิจสังคมและภาวะสุขภาพ อนามัยรวมทั้งการเว้นระยะห่างของการมีบุตรการมีบุตรคนแรกเมื่อถึงวัยที่ เหมาะสมและถ้าแม่ยังไม่พร้อมที่จะตั้ง ครรภ์ควรใช้วิธีป้องกันการตั้งครรภ์ในระยะที่ไม่ต้องการมีบุตรด้วยการใช้วิธีการคุมกำเนิดชนิดต่างๆตามความเหมาะสม แก่ร่างกายซึ่งการวางแผนครอบครัวจะมีประ โยชน์ทั้งต่อสุขภาพตนเอง ครอบครัวและต่อประเทศชาติด้วย ประโยชน์ของการวางแผนครอบครัว คือ สามารถมีบุตรได้ตามเวลาที่ต้องการ จำกัดจำนวนของบุตรให้มีระยะห่างพอสมควรและไม่ให้เป็นภาระต่อครอบครัวที่จะเลี้ยงบุตรจำกัดจำนวนของบุตรให้เหมาะสมกับฐานะของครอบครัว และลดปัจจัยสี่ยงจากการตั้งครรภ์ ในกรณีที่มารดามีโรคที่เป็นข้อห้ามใน การตั้งครรภ์
วัตถุประสงค์
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับการวางแผนครอบครัวและการคุมกำเนิดที่ถูกต้องและเหมาะสม
เกณฑ์การประเมินผล
หญิงตั้งครรภ์สามารถบอกถึงวิธีการคุมกำเนิดได้อย่างถูกตั้งอย่างน้อย 60%
หญิงตั้งครรภ์สามารถใช้วิธีที่เลือกคุมกำเนิดได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรมการพยาบาล
1.อธิบายข้อดีของการวางแผนครอบครัวว่าครอบครัวสามารถวางแผนครอบครัวได้ว่าจะมีบุตรเมื่อไรโดยสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกมีสุขภาพกายและจิตดีมีความพร้อมทางด้านการเงินมีเวลาเลี้ยงบุตรคนโตและบุตรที่จะเกิดมาด้วยความเอาใจใส่
2.แนะนำให้ควรมีบุตรห่างกันอย่างน้อย 2 ปี เพื่อให้ร่างกายได้ปรับตัวและแข็งแรงเพียงพอ
3.แนะนำวิธีการคุมกำเนิดเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถเลือกวิธีที่เหมาะสมกับตนเอง
3.1 การคุมกำเนิดแบบถาวร - การทำหมันหญิง คือเป็นการคุมกำเนิดแบบถาวร ซึ่งการทำหมันหญิงนี้ถือเป็นวิธีคุมกำเนิดที่นิยมวิธีหนึ่งในรายที่ต้องการคุมกำเนิดแบบถาวร (เหมาะกับคนที่ไม่ต้องการมีลูกแล้ว)
3.2 การคุมกำเนิดแบบชั่วคราว -ยาเม็ดคุมกำเนิด เป็นวิธีคุมกำเนิดแบบชั่วคราว คือ การรับประทานยาเม็ด หากรับประทานยาเม็ดคุมกำเนิดอย่างถูกวิธีจะสามารถป้องกันการตั้งครรภ์ได้แต่ไม่สามารถป้องกันโรคติดต่อจากการมีเพศสัมพันธ์ได้ซึ่งยาจะมี 2 ชนิด คือ ฮอร์โมนเดี่ยวและฮอร์โมนรวมซึ่งหญิงตั้งครรภ์บอกว่าจะใช้การคุม
-กำเนิดเป็นวิธีรับประทานยาจึงแนะนำว่าควรรับประทานชนิด ฮอร์โมนเดี่ยว ฮอร์โมนเดี่ยว ประกอบไปด้วยโปรเจสตินปริมาณต่ำ ๆ สามารถใช้ได้ในช่วงให้นมบุตรเพราะไม่มีผลทำให้น้ำนมลดลง
อาการข้างเคียง : ยาเม็ดคุมกำเนิดแบบฮอร์โมนเดี่ยวมีเลือดไหลก่อนรอบประจำเดือนประจำเดือนมาไม่ปกติอารมณ์แปรปรวนเกิดปัญหาสิวอุดตันน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น ปวดศีรษะหน้าอกขยายใหญ่ขึ้น ปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน มีแรงขับทางเพศที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง -แต่ไม่แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานหลังจากคลอดบุตรเพราะ จะทำให้น้ำนมไม่ไหลและเกิดการลืมได้ง่ายทำให้หญิงตั้งครรภ์ สามารถตั้งครรภ์อีกได้ -ยาฝังคุมกำเนิด เป็นวิธีคุมกำเนิดแบบชั่วคราวที่มีประสิทธิภาพสูงโดยใช้หลอดยาขนาดเล็กฝังเข้าไปใต้ผิวหนังบริเวณใต้ท้องแขนของแขนท่อนบนซึ่งภายในแท่งหรือหลอดจะบรรจุฮอร์โมนโปรเจสติน (Progestin) เอาไว้เมื่อฝังเอาไว้เรียบร้อยจะค่อยๆปล่อยฮอร์โมนชนิดนี้เข้าสู่ร่างกายโดยหน้าที่หลักของฮอร์โมนโปรเจสตินที่ค่อย ๆ ปล่อยออกมาจากแท่งหรือหลอดเข้าสู่กระแสเลือด คือ ทำให้ฟองไข่ไม่พัฒนาและไม่เกิดการตกไข่เมื่อไม่เกิดการตกไข่ที่พร้อมปฏิสนธิกับเชื้ออสุจิจะไม่สามารถเกิดการตั้งครรภ์ได้ ข้อดีของยาฝังคุมกำเนิดมีดังต่อไปนี้ -เมื่อฝังยาคุมกำเนิดไปแล้ว ไม่จำเป็นต้องใช้วิธีอื่นในการป้องกันการตั้งครรภ์ตลอดระยะเวลา 3 หรือ 5 ปีไม่ต้องกังวลเรื่องการตั้งครรภ์หรือปัญหาการลืมรับประทานยาคุมกำเนิดหลังจากที่แท้งบุตร ทำแท้ง คลอดบุตร หรือระหว่างที่ให้นมบุตรสามารถฝังยาคุมกำเนิดได้ทันทีและไม่เป็นอันตราย -ยาฝังคุมกำเนิดไม่รบกวนการใช้ชีวิตประจำวันหรือการมีเพศสัมพันธ์ -หากต้องการมีบุตรหรือต้องการหยุดใช้ สามารถนำออกได้ง่าย อาการข้างเคียง : อาจทำให้ประจำเดือนมาไม่ปกติซึ่งเป็นอาการปกติของปีแรกที่ฝังยาบางคนอาจมีประจำเดือนที่มากขึ้นหรือมาถี่ขึ้นโดยเฉพาะในช่วงปีแรกที่เริ่มฝังยาและต่อไป ประจำเดือนจะหายขาดไปเลย -ห่วงคุมกำเนิดเป็นเครื่องมือทางการแพทย์ชิ้นเล็ก ๆ ที่มีไว้สำหรับใส่เข้าไปในโพรงมดลูกเพื่อทำให้สภาพในโพรงมดลูกไม่เหมาะแก่การฝังตัวของตัวอ่อนจึงใช้ป้องกันการตั้งครรภ์ชั่วคราวได้ดี ข้อดี : เป็นเพียงอุปกรณ์ขนาดเล็กที่เข้าไปขัดขวาการฝังตัวของอสุจิไม่มีผลต่อฮอร์โมนในร่างกาย จึงไม่มีอาการข้างเคียงเหมือนการคุมกำเนิดชนิดอื่น ๆ มีประจำเดือนมาตามปกติและไม่ขัดขวางการร่วมเพศเนื่องจากห่วงอนามัยใส่เข้าไปในโพรงมดลูกแต่การร่วมเพศใส่แค่ช่องคลอด อาการข้างเคียง : เพียงแค่ประจำเดือนจะมามากกว่าปกติเนื่องจากห่วงคุมกำเนิดเป็นวัตถุที่อยู่ ในโพรงมดลูกเมื่อมีประจำเดือนเกิดมดลูกหดรัดตัวทำให้ห่วงมีการเสียดสีกับผนังโพรงมดลูกจึงทำให้ประเดือนออกมากว่าผิดปกติเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีทางเลือกในการตัดสินใจเลือกวิธีคุมกำเนิดที่เหมาะสมกับตนเอง -ยาฉีดคุมกำเนิด คุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพสูง ช่วยป้องกันการตั้งครรภ์ได้ในระยะเวลา1หรือ3เดือนหลังจากฉีด ขึ้นอยู่กับชนิดของยา การฉีดยาคุมกำเนิดนั้นจะไม่ได้ช่วยป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ดังนั้น ถ้าต้องการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ด้วยควรใช้ถุงยางอนามัย อาการข้างเคียง ยาคุมกำเนิดชนิดเมดรอกซีโปรเจสเทอโรน จะทำให้ผู้ใช้มีประจำเดือนมามาก และกินเวลายาวกว่าปกติ บางรายประจำเดือนอาจเว้นช่วงนานกว่าที่ควรจะเป็น หรือไม่มีประจำเดือนเลยปวดศีรษะ ปวดท้อง มีอาการอ่อนแรง หรืออ่อนเพลียมากกว่าปกติ วิงเวียนศีรษะ น้ำหนักเพิ่ม
4.แนะนำให้ควรมีบุตรห่างกันอย่างน้อย 2 ปี เพื่อให้ร่างกายได้ปรับตัวและแข็งแรงเพียงพอต่อการมีบุตรคนต่อไปหรือจนกว่าหญิงตั้งครรภ์จะมีความพร้อมจริงๆ
เปิดโอกาสให้หญิงตั้งครรภ์ ได้ซักถามเกี่ยวกับอาการที่ต้องมาพบแพทย์เพื่อลดความกดดันทางอารมณ์ และรับฟังผู้ป่วยด้วยความตั้งใจ
Cases study
นางสาวอารดา ประกิ่ง
นางสาวไอรดา นิลาบุตร
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อผู้รับบริการเพศหญิง อายุ 39 ปี เชื้อชาติไทย
สัญชาติไทย ศาสนาพุทธ สถานภาพสมรสสมรส หย่าร้างระดับการศึกษามัธยมศึกษาปีที่ 6 อาชีพ พนักงานปั๊มน้ำมัน รายได้ 15,000 บาท/เดือน
วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล 28 มีนาคม 2566
การวินิจฉัยโรคแรกรับ G2P1A0L1
GA 32 wks.by size
ความหมาย ตั้งครรภ์ครั้งที่2 คลอดบุตร1ครั้ง มีบุตรที่มีชีวิต1คน อายุครรภ์ 32 สัปดาห์
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
-บิดามีโรคประจำตัวเป็นเบาหวาน
-มารดามีโรคประจำตัวเป็นความดันโลหิตสูง
-ปฏิเสธการเจ็บป่วยและการรักษาในอดีต
-ปฏิเสธการแพ้ยาและสารเคมี
ประวัติการมีประจำเดือนและการคุมกำเนิด
-ประจำเดือนครั้งแรกตอนอายุ 13 ปีมา3-4วันสม่ำเสมอ
คุมกำเนิดโดยการกินยาเม็ดคุมกำเนิดเป็นระยะเวลา3ปี
(ไม่สม่ำเสมอ)และประจำเดือนมาครั้งล่าสุดไม่ทราบว่า
วันที่เท่าไหร่ เดือนอะไร
วัคซีนที่ได้รับระหว่างตั้งครรภ์ วัคซีนบาดทะยักครบ 3 เข็ม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีความเครียดเนื่องจากไม่ต้องการให้สังคมรู้ตนเองตั้งครรภ์
ข้อมูลสนับสนุน
S :มารดาบอกว่า ไม่ตื่นเต้นกับการตั้งครรภ์เพราะเป็นการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
S :มารดาบอกว่า แยกทางกับสามีและเลี้ยงบุตรคนเดียว
O : หญิงตั้งครรภ์ อายุ 39 ปี
O :มาฝากครรภ์ล่าช้า
G2P1A0L1
GA 32 wks.by size
O มารดามีสีหน้ากังวลเมื่อถามถึงวันที่ต้องมาคลอด
คัดกรองภาวะเครียด(ST-5) = 6 คะแนน
Analysis
การตั้งครรภ์ไม่พร้อมเป็นผลให้เกิดความเครียด เหตุจากความไม่พร้อมในการมีบุตร ต้องรับบทบาทการ เป็นมารดา ประกอบกับความกดดันจากครอบครัวและสังคม ความเครียดท่ีเกิดขึ้น ส่งผลต่อแบบแผนการ ดำเนินชีวิตในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ซึ่งนำไปสู่ภาวะ แทรกซ้อนได้
กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล
จัดให้อยู่เตียงเฉพาะและเป็นสัดส่วน สำหรับมารดาที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม กรณีปกปิด การตั้งครรภ์เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่อการให้ข้อมูลที่ปกปิด ไม่เป็นไปตามความจริง
ขออนุญาตผู้ป่วย/ให้เหตุผลก่อนให้การพยาบาล เพื่อลดความกังวล และสร้างสัมพันธภาพเพื่อสร้างความไว้วางใจ
1.ทักทายผู้ป่วยพูดคุยพร้อมสังเกตพฤติกรรมการทำร้ายตนเอง เพื่อประเมินพฤติกรรมที่ เสี่ยงต่อการทําร้ายตนเอง
ให้การบริการการพยาบาลแบบ one stop service โดยให้การบริการการพยาบาลทุก อย่างเป็นส่วนตัวข้างเตียงเพื่อ ปกปิดข้อมูลของมารดาให้เป็นความลับมีการส่งต่อข้อมูลสุขภาพของมารดา เฉพาะกรณีที่จำเป็นและต้องได้รับอนุญาตจากมารดาทุกครั้ง
ดูแลสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยพักผ่อน ลดสิ่งรบกวนต่างๆ เพื่อลดความตึงเครียดและความกังวล
ประเมินสภาพทารกในครรภ์
เพื่อหาความความผิดปกติในทารก
ให้ผู้ป่วยได้พูดคุยระบายความรู้สึกเกี่ยวกับประสบการณ์การปรับตัวของผู้ป่วยในอดีต เพื่อเป็นการค้นหาปัญหาของผู้ป่วย สามารถนำไปวางแผนการให้การพยาบาลที่ถูกต้อง
11.ประเมิน พร้อมบันทึกข้อมูลหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง เพื่อเป็นการให้การพยาบาลต่อเนื่องจนผู้รับบริการ กลับบ้าน
ประเมินระดับความเครียดของผู้ป่วยโดยใช้แบบประเมินความเครียดขณะตั้งครรภ์ คัด กรองภาวะเครียด(ST-5) = 6 คะแนน, ประเมินแบบคัดกรองโรคซึมเศร้า(2Q) แรกรับและก่อนจำหน่ายจาก โรงพยาบาล
อธิบายถึงความสำคัญของการคุมกำเนิดหลังคลอด แนะนําวิธีคุมกําเนิดเพื่อให้มารดาสามารถตัดสินใจเลือกวิธีคุมกําเนิดที่เหมาะสมกับตนเองได้ดังนี้
ยาฉีดคุมกําเนิด มีฤทธิ์ระงับการ ตกไข่ ออกฤทธิ์นาน 12สัปดาห์ ข้อดีของยาฉีดคุมกําเนิดเหมาะกับสตรีที่ ต้องการคุมกําเนิดแบบชั่วคราวที่มีประสิทธิภาพสูงและปลอดภัยเหมาะกับสตรีหลังคลอดที่กําลังให้นมบุตร (ต้องเป็นยาฉีดคุมกําเนิดชนิดฮอร์โมนเดี่ยว )
และ การคุมกําเนิดแบบถาวร คือการทำหมันเปียก และการทำหมันแห้ง
แนะนำให้มารดารับประทานยาตามแผนการรักษา คือ
Triferdine 1x1 tab oral OD PC เพื่อป้องกันการขาดไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิกในหญิงตั้งครรภ์
calcium carbonate (CaCO3) 1x1 tab oral OD PC เพื่อ ใช้เป็นยาบำรุงกระดูก (ป้องกันโรคกระดูก พรุน) เสริมสร้างระดับ แคลเซียมในกระแสเลือด
มาให้ตรงตามนัดของแพทย์และสังเกตอาการผิดปกติ เช่น หายใจถี่หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ วิงเวียนศีรษะ ไม่มีสมาธิ รู้สึกเหนื่อยหรืออ่อนเพลียผิดปกติ มือเท้าเย็น หรือมีอาการชา
การประเมินผล
สีหน้าไม่เคร่งเครียดหรือกังวล สนใจ มองหน้า และพูดคุยกับนักศึกษา ขณะให้การพยาบาล สนใจความรู้ในการดูแลตนเองมากขึ้น
หญิงตั้งครรภเลือกวิธีคุมกำเนิดคือ ยาฉีดคุมกําเนิด
วัตถุประสงค์ของการพยาบาล
เพื่อให้สามารถปรับตัวต่อความเครียดได้
เกณฑ์การประเมินผล
3.ซักถามในประเด็นข้อสงสัยมากขึ้น
2.ยอมรับในการเปลี่ยนแปลงของร่างกายมากขึ้น เช่น สวมใส่เสื้อผ้าที่เหมาะสม
1.มารดามีสีหน้ายิ้มแย้ม
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
ฝากครรภ์คลอด
ประวัติการตั้งครรภ์
Gravida 2 Parity 1 Abortion 0 Living 1 Gastational age 32 wks. By Size
L.M.P. จำไม่ได้ E.D.C. ไม่ทราบข้อมูล
ครรภ์ที่ 1 คลอดพ.ศ. 2560 โดยวิธีผ่าคลอด(Marternal exhausion การเจ็บครรภ์คลอดที่ยาวนาน น้ำหนักทารกแรกคลอด 3160 g ทารกแข็งแรงดี
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 45 kg. ส่วนสูง 159 cm. BMI ก่อนการตั้งครรภ์ 17.79
แบบแผนสุขภาพที่พบความผิดปกติ
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ พร่องความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์เนื่องจากไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
รับประทานอาหารที่มีรสเผ็ดและทานอาหาร2มื้อต่อวัน คือ มื้อกลางวันเเละเย็น
แบบแผนการขับถ่าย
ขับถ่าย2วัน1ครั้ง ลักษณะอุจจาระค่อนข้างแข็ง
แบบแผนการพักผ่อนนอนหลับ
นอนหลับๆตื่นๆจากการปัสสาวะบ่อย
แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้
ไม่สามารถบอกได้ว่าประจำเดือนครั้งสุดท้ายที่มาวันแรกคือวันที่เท่าใด
แบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
มารดาบอกว่าไม่รู้สึกตื่นเต้นกับทารกในครรภ์เนื่องจากเป็นครรภ์ที่2และไม่ได้ตั้งใจที่จะมี
แบบแผนเพศและการเจริญพันธุ์
-คุมกำเนิดโดยใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดแต่รับประทานไม่สม่ำเสมอ
-มารดาบอกว่าขณะตั้งครรภ์มีติ่งเนื้อยื่นออกบริเวณทวารหนักเมื่ออุจจาระจะรู้สึกเจ็บ
แบบแผนการปรับตัวและความทนตความเครียด
-มารดาบอกว่ามีความกังวลและเครียดบ้างเนื่องจากเป็นการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและกังวลถึงการเดินทางเพื่อมาคลอดขณะเล่ามารดามีสีหน้าเศร้าและกังวล
แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ ส่งเสริมการวางแผนครอบครัวมีสัมพันธภาพที่ไม่ดีเนื่องจากมารดาบอกว่าเลิกกับสามีและขณะนี้เลี้ยงลูกเองและอาศัยอยู่กับพี่สาวและในวันที่มาฝากครรภ์มารดาได้เดินทางมาเอง
การรักษาในปัจจุบัน
Triferdin 1x1 oral pc tabs
calcium carbonate (CaCO3) 1x1 oral pc 7 tabs
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์
Hct 29.8%
Anti - HIV Negative
VDRL Non-reactive
HBsAg Negative
DCIP Negative
MCV 79.2fl
OF Positive
MCH 26.4pg/cell MCHC33.3g/dL
HGB
9.9g/dl
Monocyte11.1%
การตรวจทางหน้าท้องขณะตั้งครรภ์
28/03/66
น้ำหนัก 53.1 kg.
BP 115/63 mmHg,P=84/min
HF=2/4 เหนือระดับสะดือ CMS 33 wks.
by size FHS 144/min ทารกท่าROA
อาการแสดงในแต่ละไตรมาสระหว่างตั้งครรภ์
ไตรมาสที่ 1 ขณะอายุครรภ์ 1-12wks.
ด้านอารมณ์ หงุดหงิดหรืออ่อนไหวง่าย
ด้านร่างกาย คลื่นไส้ อาเจียน อยากกินอาหารเผ็ด
ไตรมาสที่ 2 ขณะอายุครรภ์ 13-28 wks.
ด้านอารมณ์ หงุดหงิดง่าย
ด้านร่างกาย
หิวมากขึ้น รับประทานบ่อยขึ้น ทารกดิ้น
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น เต้านมมีขนาดขยายขึ้น ขนาดของหัวนมและลานนมขยายตึงขึ้น
และมีสีคล้ำ ท้องผูก ท้องอืด
ไตรมาสที่ 3 ขณะอายุครรภ์ 29-42 wks.
ด้านอารมณ์ มีอารมณ์วิตกกังวลเมื่อใกล้คลอด
ด้านร่างกาย ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน
พบ Braxton hicks contraction นอนหลับยาก
Case Study
น.ส อธิตยา โรนพิมาย เลขที่79
น.ส. อรษา รัตชาตา เลขที่ 80
ข้อมูลมารดา
ชื่อผู้รับบริการมารดาเพศหญิง อายุ 18 เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ สถานภาพสมรส คู่
ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 อาชีพ ไม่ประกอบอาชีพ รายได้ - บาท/เดือน
ที่อยู่ปัจจุบัน สามโคก ภูมิลำเนา จังหวัดปทุมธานี
วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล 28 มีนาคม 2566
ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล ตรวจ Pregnancy test Positive ฝากครรภ์ครั้งเเรก
การวินิจฉัยโรคแรกรับ G1P0A0L0 GA 7 wks. Teenage การตั้งครรภ์ครั้งที่ 1 ประวัติการคลอดบุตร 0 ครั้ง ประวัติการเเท้ง 0 ครั้ง บุตรมีชีวิตจำนวน 0 คน
วิธีการคลอด การผ่าตัด และวันที่ผ่าตัด ปฏิเสธการการคลอด การผ่าตัด
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว มารดาของหญิงตั้งครรภ์ Hypertension 5 ปี ปฏิเสธการรักษา
ประวัติการเจ็บป่วยและการรักษาในอดีต . ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยและการรักษาในอดีต
ประวัติการแพ้ยาและสารเคมี ปฏิเสธประวัติการแพ้ยาและสารเคมี
ประวัติการมีประจำเดือนและการคุมกำเนิด ประจำเดือนมา 5 วัน/ครั้ง สม่ำเสมอ การคุมกำเนิดโดยรับประทานยาคุมไม่สม่ำเสมอ หยุดรับประทานยาครั้งหลังสุดก่อนตั้งครรภ์ระยะเวลา 1ปี
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่1 พร่องความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์เนื่องจากไม่มีประสบการในการตั้งครรภ์มาก่อน
ข้อมูลสนับสนุน
A:การต้ังครรภ์วัยรุ่นเป็นปัญหาระดับชาติของประเทศไทย สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการไม่ได้วางแผนการต้ังครรภ์ ส่งผลทำให้เกิดความเสี่ยงท้ังในระยะ ครรภ์ระยะคลอดและระยะหลังคลอด เนื่องจากวัยรุ่นเป็นวัยที่ยังไม่พร้อมท้ังร่างกาย และจิตใจสําหรับการต้ัครรภ์ โดยเฉพาะหากมารดาไม่ได้รับการประเมินหรือไม่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม อาจนำไปสู่การยุติการต้ังครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย ดังน้ันการประเมินภาวะเสี่ยงและการดูแลที่เหมาะสมจากทีมสุขภาพ เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจ เเละช่วยให้มารดาวัยรุ่น สามารถปรับบทบาทในการเป็นมารดา และดำเนินชีวิตต่อไปได้อย่างมีคุณภาพ
O : อายุ 18 ปี
O: G1P0A0L0 GA 7 wks.
S: มารดาบอกว่า ถ้าเด็กตัวโตเเล้วต้องกินอะไรบำรุงบ้าง”
S: มารดาบอกว่า”ไม่รู้ต้องเตรียมอะไรบ้าง”
วัตถุประสงค์
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเเละสามารถดูเเลตนเองได้อย่างเหมาะสม
เกณฑ์การประเมินผล
หญิงตั้งครรภ์สามารถอธิบายเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้
60%
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสุขภาพและดูแลให้ได้รับคำ
แนะนำขั้นตอนการบริการที่หน่วยฝากครรภ์ ตรวจร่างกายตรวจครรภ์ และคำนวณอายุครรภ์เพื่อคัดกรองภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น โรคหรือพาหะของ Thalassemia
2.ประเมินความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตน การดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ เพื่อวางแผนการให้ความรู้หญิง ตั้งครรภ์และส่งเสริมความก้าวหน้าของทารกในครรภ์
ให้คำแนะนำหญิงตั้งครรภ์เรื่องโภชนาการ ดังนี้ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
-รับประทาน โปรตีนและแคลเซียม เน้นเนื้อสัตว์ นมและไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง เพื่อส่งเสริมการสร้าง กล้ามเนื้อและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
-รับประทานธาตุเหล็ก ซึ่งพบได้เยอะในเนื้อแดง ไข่แดง ตับ เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางและช่วยใน การสร้างเม็ดเลือดแดง
รับประทานเนื้อปลา โดยเฉพาะปลาทะเล เช่น ปลาทู เกลือทะเลเสริมไอ โอดีน เพื่อช่วยเสริมสร้าง เซลล์ประสาท และเพิ่มการหลั่งไทรอยด์ฮอร์โมนรับประทานผักใบเขียว เช่น กุ้ยช่าย ผักคะน้า หน่อไม้ฝรั่ง และตับจะมีกรด Folic มากเช่นเดียวกับ ผักใบเขียว เพื่อป้องกันความพิการในทารก แป้ง น้ำตาล และไขมัน เป็นอาหารที่ให้พลังงานแก่ ร่างกาย รับ ประทานในปริมาณที่พอดไ ม่ควรมากเกินไป
4.ให้คำแนะนำหญิงตั้งครรภ์ในเรื่องที่ควรระวังข้อห้ามระหว่างการตั้งครรภ์ ดังนี้
-หลีกเสี่ยงอาหารรสจัด อาหารดองเพราะทำให้ท้องเสีย ท้องผูกได้
-งดคาเฟอีน ชา กาแฟและเครื่องดื่มชูกำลังทุกชนิด
-งดสารเสพติดทุกชนิด งดสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์
-หลีกเลี่ยงสถานที่ที่มีควันบุหรี่
-หลีกเลี่ยงการไปสถานที่ที่มีคนพลุกพล่าน ย่านชุมชนเพื่อป้องกันการติดโรคในระบบทางเดินหายใจ อาทิเช่น COVID-19 และโรคผิวหนัง
-ควรล้างมือด้วยสบู่และใส่หน้ากากอนามัยทุกครั้งก่อนออกไปข้างนอก
-หลีกเลี่ยงการใส่เสื้อรัดแน่นจนเกินไป และเปลี่ยนsize ให้พอดีกับขนาดตัวและขนาดหน้าอกที่ขยายใหญ่ขึ้นงดการใส่เสื้อในที่มี โครงเหล็ก เพราะจะทำให้เกิดการกดทับบริเวณเต้านมได้
-หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมหนัก อาทิเช่น ยกของหนัก เดินทางระยะไกล เพื่อลดความเสี่ยงของการแท้งและคลอดก่อนกำหนดได้
-ห้ามซื้อยารับประทานเองโดยไม่ปรึกษาแพทย์เพราะอาจเกิดอันตรายต่อทารกในครรภ์ได้
5.แนะนำให้ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้วหรือ 1.5-2 ลิตรต่อวัน เพื่อเพิ่มการไหลเวียนโลหิตและช่วยให้ ระบบขับถ่ายดีขึ้นเนื่องจากขณะตั้งครรภ์จะมีภาวะท้องอืด ถ่ายอุจจาระน้อยครั้ง
6.แนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟันเพื่อป้องกันการอักเสบติดเชื้อ
7.แนะนำเรื่องของการนอนหลับพักผ่อน ควรหลับวันละ8-9 ชั่วโมง ควรงีบตอนกลางวันประมาณ 30-60 นาที
ในไตรมาสแรกควรงดการมีเพศสัมพันธ์ เนื่องจากทำให้เสี่ยงต่อการแท้ง และในไตรมาสที่ 3 อาจทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนดได้
9.แนะนำให้มารดาออกกำลังกายเบาๆ เช่น การยืดเส้นและโยคะ เพื่อลดความเกร็งของเส้นเอ็น กล้ามเนื้อ และเพิ่มความยืดหยุ่นของร่างกาย
10.แนะนำให้มารดาสังเกตน้ำหนักตัวและดูแลให้อยู่ใน เกณฑ์ที่หมาะสมดังนี้
-ไตรมาส 1 น้ำหนักควรเพิ่ม 0.5-2 กิโลกรัม/ไตรมาส
-ไตรมาส 2 น้ำหนักควรเพิ่ม 0.5 กิโลกรัม/สัปดาห์
-ไตรมาส 3 น้ำหนักควรเพิ่ม 0.2-0.3 กิโลกรัม/สัปดาห์
11.แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์นับลูกดิ้นทุกวัน โดยการนับหลังรับประทานอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เป็นเวลา 1ชั่วโมง ลูกต้องดิ้นอย่างน้อย 3 ครั้ง รวมกัน 3 มื้อต้องดิ้นไม่น้อยกว่า 10 ครั้ง จึงถือว่าปกติ และหากมีอาการผิดปกติ เช่น ลูกไม่ดิ้น หรือลูกดิ้นน้อยลง ให้รีบมาพบแพทย์
แนะนำเกี่ยวกับอาการสำคัญที่ต้องรีบมาโรงพยาบาลเจ็บครรภ์จริง คือ เจ็บครรภ์ทุกๆ 10 -15นาที เป็นจังหวะสม่ำเสมอ ปวดบริเวณหลังร้าวไปที่หน้า ท้องส่วนบนแล้วร้าวลงขา อาการเจ็บครรภ์ไม่หาย แม้มีเทคนิคผ่อนคลาย มีมูกเลือดมีน้ำเดิน ลักษณะเป็นน้ำใสๆ ไหลออกทางช่องคลอดไม่สามารถกลั้นได้เหมือนปัสสาวะลูกดิ้นน้อยลง หรือไม่ดิ้นอาการผิดปกติอื่นๆ เช่น ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี คลื่นไส้อาเจียน มีไข้ ปัสสาวะแสบขัด ให้รีบมาพบแพทย์
13.แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานวิตามินที่ได้รับอย่างสม่ำเสมอ
14.เน้นย้ำให้มารดามาฝากครรภ์ให้ครบตามกำหนดเพื่อติดตามพัฒนาการของทารกในครรภ์และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้
ประเมินผล
หญิงตั้งครรภ์สามารถอธิบายเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้แลมีความรู้ความเข้าใจเเละสามารถดูเเลตนเองได้อย่างเหมาะสม
การรักษาในปัจจุบัน
Triferdine 1x1 O pc.
Folic acid 1x1 O pc.
ประวัติการตั้งครรภ์
Gravida 1 Parity 0 Abortion 0 Living 0 Gestational age 7 wks. by date, 7 wks. by LMP
L.M.P. 7 กุมภาพันธ์ุ 2566 E.D.C. 14 พฤศจิกายน 2566
อาการระหว่างตั้งครรภ์
ไตรมาสที่ 1
ขณะอายุครรภ์1-13 weeks
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
น้ำหนักตัวลดลง
-คลื่นไส้อาเจียนเป็นบางครั้ง รับประทานอาหารไม่ค่อยได้
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ อารมณ์
มีอารมณ์แปรปรวน
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hct =39 %
HBsAG = Non-Reactive
Mcv = 78.3 fl
OF =Positive
DCIP = Negative
RPR = Non- Reactive
Anti-HIV = Non-Reactive
ประวัติการคลอดในปัจจุบัน
มารดาเพศหญิงอายุ 18 ปี เชื้อชาติ ไทย สัญชาติไทย ศาสนา พุทธ รับไว้ในการดูเเลวันที่ 28 มีนาคม 2566 เวลา 13.00 น.ประวัติการตั้งครรภ์ G1P0A0L0 อายุครรภ์ 7 สัปดาห์ Teenage pergnancy
L.M.P. 7 กุมภาพันธ์ุ 2566 E.D.C. 14 พฤศจิกายน 2566 ฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลปทุมธานี ครั้งที่ 1 ในระหว่างตั้งครรภ์มีอาการคลื่นไส้อาเจียนบางครั้ง รับประทานอาหารไม่ค่อยได้ก่อนตั้งครรภ์น้ำหนัก 50 กิโลกรัม ส่วนสูง 158 เซนติเมตร BMI 20.02 ขณะตั้งครรภ์น้ำหนัก 47 กิโลกรัม BMI 21 สัญญาณชีพแรกรับ T.36.6 P 90 ครั้ง/นาที BP90/54 mmHg
แบบเเผนสุขภาพที่ผิดปกติ
เเบบเเผนที่ 1 การรับรู้เเละการดูเเลสุขภาพ รับรู้ว่าตนเองมีการเเพ้ท้องปกติในไตรมาสเเรก ไม่รู้ว่าต้องรับมือกับอาการแพ้ท้องอย่างไรและพร่องความรู้ในการดูเเลตนเองขณะตั้งครรภ์
Case study
นางสาวอารดา วันเลิศ
หญิงไทย เพศ หญิง อายุ 40 ปี สถานภาพสมรส คู่ อาชีพรับจ้างก่อสร้าง
ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
การวินิจฉัยโรคแรกรับ Eldery gravidarum GA 6 +6 wks. By LMP ความหมาย มีการตั้งครรกโดยอายุครรภ์ 6สัปดาห์ 6 วัน โดยคํานวณจากการคำนวณ Last Menstrual Period วันแรกของประจำเดือนสุดท้าย
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
มารดาป่วยเป็นความดันโลหิตสูง
น้องชายของแม่สามีป่วยเป็นปัญญาอ่อน
ประวัติการมีประจำเดือนและการคุมกำเนิด มีประจำเดือนครั้งแรกเมื่ออายุ 14 ปี มาสม่ำเสมอทุกเดือน ครั้งละประมาณ 4 วัน มีอาการปวดประจำเดือนใน 1-2 วันแรก แต่ ไม่ได้รับประทานยาแก้ปวดรอให้หายเอง ปฏิเสธการคุมกำเนิด หลังจากนั้นประจําเดือนขาดหายไป 1 เดือน จึงซื้อที่ตรวจครรภ์มาตรวจ และมาฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลปทุมธานี
ประวัติการตั้งครรภ์และคลอดในอดีต Gravida 7 Parity 4 Abortion 2 Living 4
วัคซีนที่ได้รับระหว่างตั้งครรภ์
Tetanus toxoids เข็มที่ 1 วันที่ 28 มีนาคม 2566
อาการระหว่างตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 1
ขณะอายุครรภ์ 1-13 สัปดาห์
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
ตามทฤษฎี
รู้สึกไม่สดชื่น
อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิด ง่ายขึ้น
วิตกกังวลเกี่ยวกับทารกใน ครรภ์
กรณีศึกษา
อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิด ง่ายขึ้น
การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ
ตามทฤษฎี
คลื่นไส้อาเจียนเล็กน้อย
รู้สึกคัดตึงบริเวณเต้านม
สามารถรับประทานอาหารได้ ตามปกติมักจะรับประทาน ผลไม้รสเปรี้ยว
มีอาการอ่อนเพลีย
กรณีศึกษา
คลื่นไส้อาเจียนเล็กน้อย
มีอาการอ่อนเพลีย
สามารถรับประทานอาหารได้ ตามปกติมักจะรับประทาน ผลไม้รสเปรี้ยว
รู้สึกคัดตึงบริเวณเต้านม
การตรวจทางห้องทดลองระหว่างตั้งครรภ์
ไม่พบความผิดปกติ
สรุป/การนำข้อมูลจากแบบแผนสุขภาพที่พบความผิดปกติ
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
ความเบี่ยงเบนจากปกติที่พบ : การซักประวัติ : มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน รับประทานอาหารได้น้อย ทานไข่บางวัน และไม่ค่อยได้ทานเครื่องใน
จากการสังเกตและตรวจร่างกาย ดี
แบบแผนการปรับตัวและความทนต่อความเครียด
ความเบี่ยงเบนจากปกติที่พบ : การซักประวัติ : หญิงตั้งครรภ์บอกว่าคิดมากเรื่องค่าใช้จ่าย เพราะตนเองและสามีทำงานก่อสร้าง รายได้น้อย ไม่มีเงินหมุนสำรองและตนเองต้องหยุดทำงานและสามีเป็นคนเดียวในการรับผิดชอบค่าใช้จ่าย ”
จากการสังเกตหญิงตั้งครรภ์ ขณะเล่าหญิงตั้งครรภ์มีสีหน้าคิ้วขมวดเล็กน้อย สายตาดูกังวล
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
ความเบี่ยงเบนจากปกติที่พบ : การซักประวัติ ไม่เคยคุมกำเนิด ทำงานก่อสร้างรับจ้าง และได้สัมผัสกับสีทาบ้าน 6-8 ชั่วโมง/วัน ไม่ค่อยมีเวลานอนพักในช่วง มีอาการคลื่นไส้อาเจียน และหงุดหงิดง่ายและหงุดหงิดง่ายจากการที่เพื่อนบ้านชอบสังสรรค์และส่งผลให้ตนเองรำคานและโมโห จำการปฏิบัติตัวในขณะตั้งครรภ์ และบอกว่าน้องชายของแม่สามีเป็นโรคปัญญาอ่อน
จากการสังเกตและตรวจร่างกาย ทาสีเล็บทั้งมือและเท้า การตรวจร่างกายพบว่าเยื่อบุตาซีดเล็กน้อย มาฝากครรภ์ครั้งแรก
แบบแผนการพักผ่อนนอนหลับ
ความเบี่ยงเบนจากปกติที่พบ : การซักประวัติ : หญิงตั้งครรภ์จะเข้านอนตอนเวลาประมาณ 21.00น. และตื่นตอนเวลาประมาณ 02.00น. และไม่ได้หลับต่อ ไม่ค่อยมีเวลานอนพักในช่วงกลางวัน
จากการสังเกตหญิงตั้งครรภ์ มีอาการของการง่วงสีหน้าอิดโรย
แบบแผนเพศและการเจริญพันธุ์
ความเบี่ยงเบนจากปกติที่พบ : การซักประวัติ : ไม่เคยคุมกำเนิด
ข้อวินิจฉัย
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์เนื่องจากขณะตั้งครรภ์มีอายุมากกว่า 35 ปี
ข้อมูลสนับสนุน
วัตถุประสงค์
เพื่อให้เกิดการยอมรับ เข้าใจผลที่จะเกิด ตามมา และมีทางเลือกในการตัดสินใจที่เหมาะสม
เกณฑ์การประเมิน
1.หญิงตั้งครรภ์ทราบข้อมูลสามารถบอกได้
2.หญิงตั้งครรภ์ทำใจและยอมรับได้
การพยาบาล
การประเมินผล
1 more item...
8 more items...
S: หญิงตั้งครรภ์บอกว่า “น้องชายของแม่สามีเป็นโรคปัญญาอ่อน”
O: หญิงตั้งครรภ์อายุ 40 ปี G7 P4 A2 L4 Last 1 ปี GA 6 +6 wks
A: คุณแม่ตั้งครรภ์อายุมากกว่า 35 ปี มีโอกาสที่ทารกจะเป็น ดาวน์ซินโดรม สูงถึง 1 ใน 250 และยิ่งอายุของแม่มากเท่าไหร่ ความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนก็ยิ่งสูงขึ้น
การตรวจทางหน้าท้องขณะตั้งครรภ์
อายุครรภ์
(สัปดาห์)
6 +6
ขนาดมดลูก
2/3 > SP
ผลการประเมิน
ภาวะเสี่ยง
ฝากครรภ์ครั้งแรก
ตรวจ Lab I
แนะนำการรับประทานอาหาร