Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 การจัดการทรัพยากรการผลิตทาง การเกษตรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนากา…
หน่วยที่ 4 การจัดการทรัพยากรการผลิตทาง
การเกษตรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
4.1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
ความหมายและความสำคัญของการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
ความหมาย
การจัดการทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรมนุษย์ และทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการดำเนินการทางการเกษตร
ความสำคัญ
"การพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นการพัฒนาที่ครอบคลุมการพัฒนาในทุกด้านและทุกมิติ กลําวคือ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จิตใจวัฒนธรรม ฯลฯ โดยมีคนเป็นศูนย์กลางหรือเป็นเป้าหมายของการพัฒนา เพื่อให้คนอยูํดีกินดี และมีความสุข ทั้งคนในรุ่นนี้และรุ่นตํอๆ ไป"
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
ปัจจัยภายใน
ตัวเกษตรกรและครอบครัว
ลักษณะของระบบเกษตรหรือระบบฟาร์ม
ปัจจัยภายนอก
แรงขับทางด้านเศรษฐกิจ
แรงขับทางด้านสิ่งแวดล้อม
แรงขับทางด้านการเมือง
แรงขับทางด้านเทคโนโลยี
แรงขับทางด้านสังคม
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
แนวความคิดเรื่องการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรในมิติของการอนุรักษ์
เน้นการจัดการทรัพยากรโดยใช้การป้องกันไม่ให้เกิดความเสื่อมโทรม กำจัดความเสื่อมโทรมที่มีอยู่ให้หมดไป
สร้างและปรับปรุงคุณภาพของทรัพยากรให้ดีก่อนนำไปใช้และการดูแลรักษาทรัพยากรไม่ให้เสื่อมโทรม เพื่อให้สามารถมีทรัพยากรใช้อย่างยั่งยืนตลอดไป ตามหลักการอนุรักษ์
แนวความคิดเรื่องการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรในมิติของการผลิต
แนวความคิดเรื่อง "ภูมิปัญญาชาวบ้าน" และ"วัฒนธรรมชุมชน" กับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
แนวคิด เรื่อง"สิทธิ" และ "กรรมสิทธิ์" กับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
แนวความคิดเรื่อง "ระบบการผลิต" และ "ระบบการเกษตร" ที่มีต่อ "ระบบนิเวศ " และ "ความหลากหลายทางชีวภาพ" กับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
4.2 การมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรเพื่อความยั่งยืน
แนวคิดเกี่ยวกับการส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากร
การผลิตทางการเกษตรเพื่อความยั่งยืน
ไตรภาคี
เป็นการจัดการทรัพยากรในรูปไตรภาคี เชํน การร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน
และองค์กรชาวบ้าน ในการพัฒนาและจัดการทรัพยากร
พหุภาคี
เป็นการประสานความร่วมมือของกลุ่มพลังต่าง ๆ ในชุมชนมากกว่า 3 กลุ่มขึ้นไป ได้แก่ ภาครัฐ นักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรธุรกิจ และองค์กรชาวบ้าน หรือองค์กรชุมชน โดยมีชุมชนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา
การสร้างองค์กรชาวบ้าน
เป็นแนวคิดที่มุ่งสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาศักยภาพของชุมชนด้วยการพัฒนาคนควบคู่ไปกับการ
ก่อตั้งกลุ่มหรือองค์กรขึ้นมาเพื่อเป็นฐานในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน
การมีส่วนร่วม
เป็นแนวคิดที่มองว่ายุทธศาสตร์การพัฒนาด้านตําง ๆ จะต้องให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยที่
ประชาชนต้องมีส่วนร่วมโดยตรงตลอดกระบวนการ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหาร
จัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรเพื่อความยั่งยืน
ปัจจัยภายในชุมชน
สมาชิกชุมชน
ความเข้มแข็งของชุมชน
ผู้นำชุมชน
ปัจจัยภายนอกชุมชน
การสนับสนุนด้านงบประมาณ
การสนับสนุนข้อมูลข่าวสารทางวิชาการ
แนวทางการส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ
ทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรเพื่อความยั่งยืน
รัฐสนับสนุนให้ชุมชนจัดการทรัพยากรของตนเอง
การวางแผนการจัดการทรัพยากร
การจัดสรรทรัพยากร
การวางกฎเกณฑ์และการควบคุมบังคับ
การรับรองสิทธิเหนือทรัพยากร
การจัดการทรัพยากรโดยชุมชนภายใต้การสนับสนุนของรัฐ
เชํน การรับรองสิทธิ์ในระดับตํางๆ
4.3 แนวทางการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรอย่างยั่งยืน
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรการเกษตรและโครงสร้างพื้นฐาน
การเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรการเกษตรและโครงสร้างพื้นฐานการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรใช้ทรัพยากรการผลิตอย่างเหมาะสมและยั่งยืน
สนับสนุนและผลักดันให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร
เตรียมความพร้อมรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและวางระบบการป้องกันและบรรเทาปัญหาภัยธรรมชาติ
พัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์
การส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรใช้ทรัพยากรการผลิตอย่างเหมาะสมและยั่งยืน
ตามแนวคิดระบบการเกษตรและระบบการเกษตรแบบบูรณาการ
ความสำคัญของการนำแนวทางของระบบการเกษตรเชิงบูรณาการมาประยุกต์ใช้ในการผลิตทางการเกษตร
ความสำคัญต่อตัวเกษตรกร
ความสำคัญต่อระบบการเกษตรหรือระบบฟาร์ม
ความสำคัญต่อสังคม
การนำแนวคิดของระบบการเกษตรเชิงบูรณาการมาประยุกต์ใช้ในการผลิตทางการเกษตรการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรใช้ทรัพยากรการผลิตอย่างเหมาะสมและยั่งยืน
ประสิทธิภาพการผลิต
ความมั่งคงในการผลิต
ความต่อเนื่อง
แนวทางของระบบการเกษตรเชิงบูรณาการเพื่อการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรใช้ทรัพยากรการผลิตอย่างเหมาะสมและยั่งยืน
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
ด้านต่าง ๆ
การเตรียมความพร้อมในระดับชุมชน
การจัดการทรัพยากรในระดับชุมชน เป็นการจัดการที่ต้องอาศัยพลัง และความร่วมมือจากคนในชุมชน โดยมีหลักการทั่วไปในการจัดการทรัพยากรในระดับชุมชน เพื่อเตรียมความพร้อมในการรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ
การเตรียมความพร้อมในระดับเครือข่าย หรือประเทศ
การจัดการทรัพยากรในระดับเครือขําย เป็นสิ่งที่มีความสำคัญ เนื่องจากการจัดการทรัพยากรบางอย่างไมํสามารถจัดการได้โดยชุมชนใดชุมชนหนึ่งเท่านั้น จำเป็นต้องอาศัยพลังความร่วมมือจากประชาชนในหลายพื้นที่ สำหรับหลักการทั่วไปในการจัดการทรัพยากรในระดับเครือขําย
หรือประเทศ เพื่อเตรียมความพร้อมในการรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ
การเตรียมความพร้อมในระดับครัวเรือน
หลักการในการจัดการทรัพยากรในครัวเรือน จะอยู่ขึ้นกับการตัดสินใจในการผลิตของเกษตรกรในแต่ละพื้นที่ ที่ทำการผลิตโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปด้วย เพื่อให้อยู่รอดทั้งคนและสิ่งแวดล้อม โดยเน้นการทำการเกษตรให้ยั่งยืน