Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อการจัดการทรัพยากรสู่ความมมั่นคงทาง…
แนวคิดในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อการจัดการทรัพยากรสู่ความมมั่นคงทางอาหาร
แนวคิดของการจัดการทรัพยากร
แนวคิดการพัฒนาการเกษตร
การวางแผน การดำเนินการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร มุ่งหวังการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบเพื่อยกระดับมาตรฐานการผลิตทางการเกษตร
จุดมุ่งหมายการพัฒนา
พัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร สังคม สาธารณชน โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้
9 ประเด็นหลักในการพัฒนา
เสริมสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร
ส่งเสริมการทำเกษตรตามปรัชญาเศรษฐกิจพิเพียง
ส่งเสริมการทำเกษตรรูปแบบการพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ
ความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน
เศรษฐกิจสร้างสร้างสรรค์ในภาคเกษตร
ฟื้นฟูเศรษฐกิจสีเขียว
ศึกษาต่อเนื่องแนวทางรองรับการเปิดการค้าเสรี ความร่วมมือระหว่างประเทศ
พัฒนาบุคลากรด้านการเกษตร
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร
แนวคิดการจัดการทรัพยากรการเกษตร
เป็นการกำหนดแนวทางที่นำมาซึ่งการผลิตทางการเกษตรที่มีประสิทธิภาพ เป็นมิตรสิ่งแวดล้อม
แนวคิดการส่งเสริมการเกษตร
การให้ความรู้แก่เกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย มุ่งให้ผู้ได้รับการส่งเสริมช่วยเหลือตนเองด้านการผลิตทางการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์
เพื่อเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพการผลิต
เพื่อเผยแพร่ข่าวสารเทคโนโลยีสมัยใหม่ นโยบายรัฐ การเปลี่ยนแปลงทางการตลาด
เพื่อพัฒนากลุ่มเป้ามหายเป็นกำลังในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการอนุรักษ์
เพื่อพัฒนาและยกระดับมาตรฐานชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย ประเทศชาติ
เพื่อให้บริการเผยแพร่ความรู้ เทคโนโลยีที่จำเป็นในการพัฒนากลุ่มเป้าหมาย
เพื่อให้เกิดการพัฒนาชุมชนการเกษตรในด้านการเสริมสร้างคุณค่าทางจิตใจ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรเพื่อการเกษตร
น้ำ
พัฒนาทรัพยากรน้ำใต้ดิน
สนับสนุนเทคโนโลยีการใช้น้ำที่ทันสมัย
สร้างจิตสำนึกของผู้เกี่ยวข้องในการบำรุงรักษาระบบชลประทาน
ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรน้ำ เช่น ขัดสระเก็บสำรองน้ำในพื้นที่การเกษตร
บำรุงรักษา ซ่อมแซมระบบชลประทาน
ป่าไม้
วนเกษตรที่มีต้นไม้แทรกในไร่นาหรือทุ่งหญ้า (ปลูกต้นไม้เสริมในที่ไม่เหมาะกับพืชผล)
วนเกษตรที่มีต้นไม้ล้อมไร่นา (ปลูกต้นไม้เพิ่มความชุ่มชื้น)
วนเกษตรแบบบ้านสวน (ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น สมุนไพร ผักสวนครัวบริเวณบ้าน)
วนเกษตรทีมีแถบต้นไม้และพืชผลสลับกัน
วนเกษตรใช้พื้นที่หมุนเวียนปลูกไม้ยืนต้น พืชผล เลี้ยงสัตว์
ดิน
เพิ่มอินทรียวัตถุในดินโดยการปลูกพืชบำรุงดิน
ป้องกันการแพร่กระจายของดินที่มีปัญหาจากแหล่งกำเนิดไปยังพื้นที่อื่น
ลดความรุนแรงของกระบวนการชะล้างพังทลายของดิน เริ่มต้นจากการปกคลุมดินด้วยวัสดุธรรมชาติ
การจัดการสิ่งแวดล้อมทางการเกษตรเพื่อความมั่นคงทางอาหาร
การจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
การคัดแยกมูลสัตว์แห้งออกจากคอกเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ หากมูลสัตว์ปนกับน้ำ ให้ตกตะกอนก่อนระบายลงบ่อดักตะกอน
การกำหนดวิธีการทำให้สารเคมีมีสถานะเป็นกลาง ไม่ทำปฏิกิริยาเคมีที่ก่อให้เกิดมลพิษสิ่งแวดล้อม
การลดปริมาณสารเคมีในพื้นที่การผลิตพืชและสัตว์
การนำของเสีย ของเหลือใช้กลับมาใช้ใหม่
การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความมั่นคงทางอาหาร
ส่งเสริมและสนับสนุนสิ่งอำนวยความสะดวกและปัจจัยการผลิต
สร้างหลักประกันด้านผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากการผลิตทางการเกษตร
การได้สิทธิในการถือครองที่ดิน
การดำรงไว้ซึ่งองค์ความรู้ภูมิปัญญาการผลิตทางการเกษตร