Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยาทางสูติศาสตร์ 💊💉 - Coggle Diagram
การใช้ยาทางสูติศาสตร์ 💊💉
ยาบรรเทาอาการปวด
Pethidine
บรรเทาปวด ทำให้นอนพักผ่อนได้
ให้ก่อนคลอด 2-4 ชม
ผลข้างเคียง
ความดันโลหิตต่ำ
ง่วง ซึม สับสน
คลื่นไส้ อาเจียน
ท้องผูก
การหายใจถูกกด
เนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
ข้อควรระวัง❌
หลับปลุกตื่นยากร่วมกับรูม่านตาเล็กลง
ผ่านทางน้ำนม หญิงให้นมบุตรระวังการใช้
กลุ่มยา
: ยาแก้ปวดกลุ่มโอปิออยด์
วิธีใช้
50-100 mg.
ฉีด im ซ้ำได้ทุก 2-4 ชั่วโมงยาจะออกฤทธิ์สูงสุด หลังฉีด 45 นาที
25-50 mg
. ฉีดเข้า iv ซ้ำได้ทุก 1-2 ชั่วโมงยาจะออกฤทธิ์สูงสุดหลังฉีด 5 นาที
Morphine
กลุ่มยา
: ยาแก้ปวดชนิดเสพติด
ข้อควรระวัง
ไม่พบอันตรายโดยตรงต่อทารกในครรภ์ เมื่อใช้ในระยะสั้น ๆ
ให้ใช้ Morphine ได้ในขณะตั้งครรภ์ไตรมาส 1 และ 2
ห้ามใช้ Morphine ติดต่อกันนาน ๆ หรือใช้ในไตรมาสสุดท้ายของการตั้งครรภ์
หากจําเป็นต้องใช้ในระยะนี้ ควรใช้ Pethidine แทน
ผลข้างเคียง
กดการหายใจจนถึงขั้นช็อกและหัวใจหยุดเต้นเสียชีวิต (ตาย) ได้
ร่างกายมีอาการสั่นกล้ามเนื้อกระตุก
ปวดศีรษะเล็กน้อย วิงเวียน ง่วงนอน
ปัสสาวะน้อยลง
มีอาการชัก ตาพร่า ประสาทหลอน
ปากแห้ง หน้าแดง
ไม่นิยมใช้เพราะกดการหายใจทารกและ ยับยังการหดรัดตัวของมดลูก
ยากลุ่มTransquilizers
เป็นยาที่คลายความกังวลและบรรเทาความเจ็บปวด
บรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน จากการได้รับยาในกลุ่ม Narcotic analgesic
Prometazine ( Phenergan ) ขนาดที่ใช้ 25-50 mg ฉีดเข้า im
Promazine ( Sparine) ขนาดที่ใช้ 25-50 mg ฉีดเข้า im
Diazepam ( Valium) ขนาด 10 mg ฉีดเข้า im
ฤทธิ์ข้างเคียง
ต่อมารดา
ความดันโลหิตต่ำ
มีผลต่อการไหลเวียนเลือดผ่านรกไปสู่ทารกลดลง
ง่วงซึม และมึนงง
ต่อทารกในครรภ์
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 160 ครั้ง/นาที (Tachycardia)
ต่อทารกแรกเกิด
กำลังกล้ามเนื้อลดลง ( hypotonia)
อุณหภูมิกายต่ำ
ง่วงซึม
ดูดนมได้ไม่ดีในช่วง 2-3 วันหลังคลอด
ยาเพิ่ม/ลด การหดรัดตัวของมดลูก
High Alert Drug
Oxytocin (ผสมOxytocin 10 Unit ใน 5%D/W 1000 cc)
ขณะให้ยา
ฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารก
วัดความดันโลหิต
จับชีพจรผู้คลอดเป็นระยะ
ถ้าให้ยานานเกิน 4 – 6 ชั่วโมงไม่เกิดการเจ็บครรภ์ควรหยุดให้
กรณีที่คลอดแล้วควรให้ยาต่อไปอีกอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอด
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้oxytocin
มดลูกหดรัดตัวแบบไม่คลาย (Tetanic contraction)
มดลูกแตก (Uterine rupture)
ภาวะอุดตันในเส้นเลือด (Amniotic fluid embolism)
เกิดร้วมกับมดลูกหดรัดตัวอย่างรุนแรงและมีการแตกของถุงน้ำคร่ำ
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน (Fetal distress)
รกลอกตัวก่อนกำหนด (Abruptio placenta)
ปากมดลูกฉีกขาดจากการคลอดเร็วเกินไป
ตกเลือดหลังคลอด
การพยาบาล
อธิบายวัตถุประสงค์ของการใช้ยาและการปฏิบัติตัว เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้คลอด และความสำเร็จในการชักนำการคลอด
เตรียมยาให้ถูกต้องตามแผนการรักษา เช่น oxytocin 10 unit + 5%D/W1,000 cc. ให้ผ่านเครื่องปรับยาอัตโนมัติเริ่มให้ยาในขนาด 8-10 หยด/นาที
เฝ้าคลอดอย่างใกล้ชิด และปรับขนาดครั้งละ 4-5 หยดทุก 30 นาทีจนกว่ามดลูกจะหดรัดตัวเหมือนการเจ็บครรภ์คลอดปกติ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ทุก 30 นาที
5.ตรวจภายในเพื่อประเมินความก้าวหน้าของการคลอดเป็นระยะ ๆ ทุก 2-4 ชั่วโมง ตามความเหมาะสมโดยยึดหลักปราศจากเชื้อ
6.ดูแลให้ผู้คลอดสุขสบายทั้งทางร่างกาย และจิตใจ
จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาดและสงบ
สอนเทคนิคการผ่อนคลายเพื่อลดความเจ็บปวด
สอบถามและรับฟังปัญหาของผู้คลอด
ทำให้กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัว จึงนำมาใช้เพื่อการชักนำการคลอด
ผสมOxytocin 10 Unit ใน 5%D/W 1000 cc ผ่านเครื่องปรับยาอัตโนมัติ (Infusion pump) ในอัตรา 8 – 10 หยด/นาที นาน 15 นาที
Methergin (Methylergometrine)
ข้อบ่งใช้
ใช้ในหญิงหลังคลอดหรือแท้งบุตร เพื่อให้มดลูกบีบตัว ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
แนวทางการบริหารยา
การฉีดยาเข้ากล้าม (IM) ใช้0.2 mg.
ถ้าจำเป็นให้ยาซ้ำ สามารถให้ได้ทุก 2-4 ชั่วโมง แต่ไม่ควรให้ยาเกิน 5 ครั้ง
การฉีดเข้า IV dose เหมือนกับ IM แต่ต้องระมัดระวังความดันโลหิตที่อาจจะสูงขึ้นผิดปกติเฉียบพลัน และการทำลายหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
ชักและเนื้อตายเน่า
เกิดได้มากที่นิ้วมือและนิ้วเท้า
อาเจียน
ท้องร่วง
เวียนศีรษะ
ความดันเลือดเพิ่มหรือลด
การแข็งตัวของเลือดเร็วผิดปกติ
การพยาบาล
1.ถ้าสารละลายใน ampules เกิดการเปลี่ยนสีไม่ควรใช้
2.ตรวจวัดความดันโลหิตเป็นระยะๆเนื่องจากอาการไม่พึงประสงค์ที่พบเฉียบพลันและรุนแรงคือภาวะความดันโลหิตสูง
Magnesium sulfate (MgSO4)
ให้ยาในขนาด 6 gm. loading dose และตามด้วย 2 gm/hour infusion นานอย่างน้อย 12 ชม.
ทารกที่ได้รับ Magnesium sulfate จะลดโอกาสเกิด cerebral palsy (สมองพิการ) ได้ร้อยละ 32
วิธีการให้ยา Magnesium sulfate
เริ่มต้น : 10%MgSO4 4-6 g + 5%D/W 100 ml IV drip in 15-20 นาที
ตามด้วย : 50%Mg SO4 10 g + 5%D/W 1000 ml IV drip 1-2 g/hr
อาการข้างเคียง
แม่
ร้อนวูบวาบ (flushing)
ปวดศีรษะ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง (muscle weakness)
คลื่นไส้ อาเจียน
pulmonary edema
ความดันโลหิตต่ำ
ลูก
เซื่องซึมและอ่อนแรง (hypotonia)
กดการหายใจของทารก (respiratory depression)
APGAR scores ต่ำตอนคลอด
ความดันโลหิตต่ำ
การเฝ้าระวัง
ระวังภาวะ magnesium toxicity
ตรวจ deep tendon reflex (ต้องไม่ absent)
Respiratory rate (> 14 ครั้ง/นาที)
Blood pressure (> 90/60 mmHg)
Urine output (> 30 cc/hr)
Magnesium level อยู่ในช่วง 4 – 7 mEq/L
Prostaglandin
ช่วยทำให้ปากมดลูกนุ่มขึ้น และมีผลต่อการหดรัดตัวของมดลูกน้อย
ยาที่นิยมใช้มี 2 ชนิดคือ
สารโพรสตาแกลนดินอี 1 (prostaglandin E1)
:ที่นำมาใช้คือ Misoprostol หรือ cytotec
เพื่อรับประทานรักษาโรคกระเพาะอาหารอักเสบหรือแผลในกระเพาะอาหาร
นำมาประยุกต์ใช้ในการชักนำการคลอด มีฤทธิ์ทำให้มดลูกมีการหดรัดตัว มีการบริหารยาโดยการสอดเข้าช่องคลอดและการรับประทาน
ข้อบ่งห้าม
ของการใช้ยาprostaglandin E1
ในผู้คลอดมีประวัติโรคหอบหืด
โรคต้อหิน
โรคตับ
โรคหัวใจ
ภาวะมดลูกไวต่อการหดรัดตัว
ห้ามใช้ในผู้คลอดที่เคยผ่าตัดที่ตัวมดลูก ครรภ์แฝด ผู้ที่คลอดบุตรคนที่ 5หรือมากกว่า
ภาวะแทรกซ้อน
เกิดภาวะมดลูกหดรัดตัวมากเกินไป มดลูกแตก
มีการคลอดเฉียบพลัน
เกิดการฉีกขาดของช่องทางช่องคลอด
ภาวะทารกขาดออกซิเจนหรือทารกตายในครรภ์
สารโพรสตาแกลนดินอี 2 (prostaglandin E2)
:ที่นำมาใช้คือ dinoprostone
ใช้เพื่อปรับสภาพปากมดลูกให้มีความพร้อมก่อนการชักนำการคลอด
ข้อบ่งชี้
ของการใช้ยาprostaglandin E2
การชักนำการคลอดแต่ปากมดลูกไม่พร้อม (คะแนน Bishop น้อยกว่า 4)
เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ปากมดลูก
มีการแตกตัวของคอลลาเจนในเนื้อเยื่อปากมดลูก
มีปริมาณน้ำเพิ่มมากขึ้นซึ่งคล้ายกับผู้คลอดในระยะเจ็บครรภ์คลอด
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจพบ
คลื่นไส้ อาเจียน
มีไข้
วิงเวียนศีรษะ ปวดศีรษะ
ถ่ายเหลว
มดลูกมีการหดรัดตัวรุนแรงมากกว่าปกติจนอาจเกิดมดลูกแตก
หลังให้ยา 6 ชม. ตรวจภายในอีกครั้ง หากปากมดลูกยังไม่พร้อมสามารถให้ยาซ้ำ
การพยาบาล
ประเมินสภาวะของผู้คลอดอาการแสดงของการเจ็บครรภ์และคะแนนบิชอป(Bishop Score)
อัตราการเต้นของหัวใจทารก อาการไข้ของมารดา การติดเชื้อ การมีเลือดออกทางช่องคลอด
หลังจากเหน็บยาจัดให้ผู้คลอดนอนราบ 30 นาที – 1 ชั่วโมงเพื่อป้องกันการหลุดของเม็ดยา
ตรวจการหดรัดตัวของมดลูกและฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารกขณะได้รับยา Prostaglandin นาน 30 นาที ถึง 2 ชั่วโมง เพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อน
ถ้ามีการหดรัดตัวของมดลูกรุนแรงให้เอายาออก จัดให้ผู้คลอดนอนตะแคงซ้าย ให้ออกซิเจนและรายงานแพทย์ เพื่อพิจารณาให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์ ตาม category
Category A
ศึกษาในมนุษย์ไม่พบความเสี่ยง
ไม่มีผลทำให้เกิดความพิการของทารกทั้งทางตรงและทางอ้อม
Folic acid
เพื่อรักษาโรคโลหิตจางที่เป็นอันตราย
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้ เบื่ออาหาร
ท้องอืดแก๊ส ปวดท้อง
สับสน
มีปัญหาเกี่ยวกับการนอนหลับ
รู้สึกตื่นเต้น กระสับกระส่าย แปรปรวน อยู่ไม่สุข
มีภาวะซึมเศร้า
ขนาดของกรดโฟลิกที่เหมาะกับหญิงตั้งครรภ์
ช่วงก่อนตั้งครรภ์
: ควรได้รับ 400 ไมโครกรัมต่อวัน
ช่วง 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์
: ได้รับอย่างน้อย 400 ไมโครกรัมต่อวัน
ช่วงเดือนที่ 4 ถึงเดือนที่ 9 ของการตั้งครรภ์
: (ไตรมาสที่ 2 และ 3 ของการตั้งครรภ์) ควรได้รับ 600 ไมโครกรัมต่อวัน
ช่วงให้นมบุตร
: ควรได้รับ 500 ไมโครกรัมต่อวัน
อาหารที่มีโฟเลตสูง
ไข่แดง ตับ
ผักใบเขียว
คะน้า
ผักบุ้ง
ตำลึง
แครอท ฟักทอง
ถั่วชนิดต่างๆรวมทั้งเมล็ดธัญพืช
แคนตาลูป อะโวคาโด
ประโยชน์ข้อสำคัญของFolic acid
ช่วยลดความเสี่ยงพิการในลักษณะโรคปากแหว่งเพดานโหว่
ป้องกันการแท้งหรือคลอดก่อนกำหนด
ป้องกันโรคโลหิตจาง
ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในของหญิงตั้งครรภ์
เสริมสร้างตัวอ่อน ช่วยเรื่องการแบ่งเซลล์ให้สมบูรณ์
กลุ่มยา
: อาหารเสริม
Category B
ศึกษาในสัตว์ไม่เสี่ยงต่อทารก ยังไม่มีการศึกษาแบบควบคุมในมนุษย์
CPM (Chlorpheniramine)
ผลข้างเคียง
ง่วงซึม นอนไม่หลับ
ปวดหัว เวียนหัว
ปากแห้ง จมูกแห้ง คอแห้ง
คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
ระยะให้นมบุตร อาจทำให้น้ำนมออกลดลง
ข้อควรระวัง❌
ช่วงตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก
: ก่อนใช้ยาแก้แพ้ ควรปรึกษาแพทย์ทุกครั้ง เพื่อแพทย์จะได้แนะนำตัวยาที่มีความปลอดภัยให้คุณแม่ท้อง
หากมีประวัติแพ้ยาก่อนตั้งครรภ์ ช่วงตั้งครรภ์ยิ่งไม่ควรกิน
ไม่ควร
กินยาแก้แพ้ร่วมกับวิตามิน อาหารเสริม และสมุนไพร หากต้องกินร่วมกับยาชนิดอื่น
ควรปรึกษาแพทย์ก่อนทุกครั้ง
หากไปซื้อยาแก้แพ้เองที่ร้านขายยา ควรแจ้งว่าตั้งครรภ์
เพื่อเภสัชกรจะได้เลือกตัวยาที่ปลอดภัยให้
กลุ่มยา
: ยาต้านฮีสทามีน (Antihistamine)
Paracetamol
วิธีใช้
ควรใช้ยาขนาด
10-15 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว (กิโลกรัม) ทุก 4-6ชั่วโมง ไม่ควรเกิน 8 เม็ด/วัน หรือ 4 กรัม/วัน
ผลข้างเคียง
อุจจาระเป็นเลือด หรือมีสีดำ
ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะน้อยลงอย่างไม่มีสาเหตุ
มีจุดแดงเล็ก ๆ ขึ้นตามผิวหนัง
มีแผลร้อนใน หรือ จุดขาว ๆ ขึ้นที่ริมฝีปากหรือภายในช่องปาก
หายใจไม่ออก
กลุ่มยา
: ยาระงับปวดและลดไข้
อาจพบผลไม่พึงประสงค์ในสัตว์แต่ยังไม่พบความเสี่ยงในมนุษย์เมื่อใช้ในช่วงสามเดือนแรกของการตั้งครรภ์
Amoxicillin
สามารถผ่านสายรกได้ แต่ไม่พบว่าก่อให้เกิดความผิดปกติของตัวอ่อนในสัตว์ทดลองและในมนุษย์
หญิงตั้งครรภ์ในทุกระยะการตั้งครรภ์สามารถใช้ยากลุ่มนี้ได้
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้และอาเจียน
ปวดท้อง ท้องร่วง ท้องเดิน
ปวดหัว
มีผื่นคัน ลมพิษ
มีปัญหาในการหายใจ
เลือดออกทางจมูก ปาก ช่องคลอด หรือทวารหนักผิดปกติ
กลุ่มยา
: ยาปฏิชีวนะ
Category C
การศึกษาในสัตว์ทดลองแสดงให้เห็นถึงความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ แต่ไม่มีการศึกษาในมนุษย์
Prednisolone
ผลข้างเคียง
มีปัญหาเกี่ยวกับการมองเห็น
อุจจาระเป็นเลือด หรือไอเป็นเลือด
มีอาการบวม น้ำหนักขึ้นอย่างรวดเร็ว และหายใจถี่
มีอาการซึมเศร้ารุนแรง อารมณ์แปรปรวนผิดปกติ
วิธีใช้
รับประทาน5–60 มิลลิกรัมต่อวัน แบ่งรับประทาน 1–4 ครั้งต่อวัน
กลุ่มยา
: ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์
Norfloxacin
กลุ่ม
Fluoroquinolole
สามารถผ่านสายรกได้เนื่องจากยามีโมเลกุลขนาดเล็ก
ไม่แนะนำให้ใช้โดยเฉพาะในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์(เดือนที่ 1-3)
ผลข้างเคียง
ท้องเสีย
ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ
มีปัญหาเกี่ยวกับการนอนหลับ
มีผื่นคัน
ข้อควรระวัง
ห้ามใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์
: มีผลทำให้การเจริญเติบโตของกระดูกผิดปกติ
ห้ามใช้ยานี้ในหญิงให้นมบุตร
: สามารถผ่านออกมาทางน้ำนมได้
อาจทำให้เกิดพิษกับข้อต่อของทารก
Lamivudine
มีความเสี่ยงน้อยที่จะกระทบต่อพัฒนาการของตัวอ่อน
กลุ่มยา
: ยาต้านไวรัส
ผลข้างเคียง
ซีด เม็ดเลือดขาวต่ำ
คลื่นไส้
ปวดหัว
นอนไม่หลับ
ปวดกล้ามเนื้อ อ่อนเเรง
Category D
ใช้ในกรณีที่จำเป็นในการช่วยชีวิตหรือใช้รักษาโรคร้ายแรงของมารดา ซึ่งไม่สามารถใช้ยาอื่น ๆ ทดแทนได้
Diazepam
ผลข้างเคียง
ยาขับออกทางน้ำนม และอาจสะสมในทารก
ง่วงซึม
น้ําหนักลด
ปัสสาวะน้อยหรือไม่ปัสสาวะเลย
ลมหายใจอ่อนแรง หายใจช้า
กล้ามเนื้อกระตุก ตัวสั่น
กลุ่มยา
: Benzodiazepine
อาการผิดปกติที่เกิดกับทารกในครรภ์
ไตรมาสที่ 1
: มีผลให้ทารกมีปากแหว่งเพดานโหว่
ไตรมาสที่ 2
: มีผลให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับระบบเลือดและหัวใจในทารก
ช่วงใกล้คลอด
Floppy infant syndrome
: (กล้ามเนื้ออ่อนแรง, เซื่องซึม, ไม่ดูดนม)
Withdrawal syndrome
: (กดการเจริญเติบโต, เกร็ง, สั่น, กระวนกระวาย, ท้องเสีย, คลื่นไส้)
ควรหลีกเลี่ยงการใช้ Diazepam ในขณะตั้งครรภ์
carbamazepine
กลุ่มยา
: ยากันชัก (Anticonvulsants)
อาการผิดปกติที่เกิดกับทารกในครรภ์
ทําให้เกิดภาวะทารกวิรูป
ภาวะขาดวิตามินเค(โดยเฉพาะในไตรมาสสุดท้าย)
ผลข้างเคียง
ยาขับออกทางน้ํานมได้ แต่มีปริมาณเพียงเล็กน้อย
อาการอันไม่พึงประสงค์ในทารก
ง่วงซึม
ดีซ่าน
ไม่ดูดนม
คลื่นไส้
น้ำหนักไม่เพิ่ม / น้ําหนักน้อย
มีความเสี่ยงต่อการเกิดความพิการ
ทำให้ปัจจัยการแข็งตัวของเลือดที่
อาศัยวิตามิน ทารกแรกคลอดลดลง
เสี่ยงต่อการเกิดความพิการของทารกในครรภ์ แต่ผลดีจากการใช้ จ้าเป็นต้องใช้ยาเพื่อความปลอดภัยของมารดา
Category X
เสี่ยงต่อการเกิดความพิการในทารก ห้ามใช้ในขณะตั้งครรภ์
Ergotamine
กลุ่มยา
: ยารักษาไมเกรน
อาการผิดปกติ
เกิดการแท้งหรือคลอดก่อนกําหนด
ผลข้างเคียง
ยาขับออกทางน้ำนมได้
ทารกเกิด Ergotism (ทารกจะอาเจียน ท้องเสีย และชัก)
กดการหลั่งของน้ำนม ส่วน Caffeine
มีผลกระทบต่อการนอนของทารก
ห้ามใช้นมบุตรในระหว่างที่ใช้ Ergotamine + Caffeine
Warfarin
กลุ่มยา
: ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
ผลข้างเคียง
มีอาการปวด บวม ร้อน ๆ หนาว ๆ
เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผิวหนังหรืออวัยวะในร่างกายเปลี่ยนสี
ปวดหัวเฉียบพลัน เวียนศีรษะหรืออ่อนเพลีย
ผิวซีด รู้สึกหวิวหรือหายใจถี่ หัวใจเต้นเร็ว
ปัสสาวะเพียงเล็กน้อยหรือปัสสาวะไม่ออก
คลื่นไส้ อาเจียน
การรับรู้รสชาติอาหารเปลี่ยนแปลง
อาการผิดปกติ
ยานี้ผ่านรกไปสู่ทารกอาจจะทำให้ทารกตายในครรภ์ หรือเลือดออก
ทำให้พิการในทารกได้เรียกว่า fetal warfarin syndrome ทารกโตช้าในครรภ์
Retinoic acid (Vit A)
ผลข้างเคียง
ทำให้ผิวแห้ง แสบร้อน บวมแดง ระคาเคือง
ผิวหลุดลอกเป็นขุย
หายใลำบาก
มีความไวต่อแสงมากขึ้น
สามารถส่งผลเสียต่อการเจริญเติบโตของทารกได้
ผลต่อทารก
ทารกพิการแต่กำเนิด
ภาวะแท้งบุตร
คลอดก่อนกำหนด
Thalidomide
กลุ่มยา
: ยากดภูมิคุ้มกัน
ผลข้างเคียง
นอนหลับยาก ง่วงแต่นอนไม่หลับ หรือรู้สึกง่วงซึม
ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ คลื่นไส้
ปากแห้ง ผิวแห้ง หรือผิวซีด
ปวดหลัง ปวดตามข้อต่อ กล้ามเนื้อ หรือกระดูก
น้ำหนักตัวหรือความอยากอาหารเกิดการเปลี่ยนแปลง
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
กรอบแนวคิด
ข้อบ่งชี้ (Indication)
: ใช้ยาเมื่อมีความจำเป็น (เกิดประโยชน์มากกว่าโทษ)
ประสิทธิผล (Efficacy)
: ยานั้นเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยอย่างแท้จริง
ความเสี่ยง (Risk)
: คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก
ค่าใช้จ่าย (Cost)
: ใช้ยาอย่างพอเพียงและคุ้มค่า
ขนาดยา (Dose)
: ใช้ยาถูกขนาด ไม่น้อยหรือมากเกินไป ไม่ปรับยาเอง
วิธีให้ยา (Method of administration) :
ใช้ยาถูกวิธี
ความถี่ในการให้ยา
: ใช้ยาด้วยความถี่ที่เหมาะสม
ระยะเวลาในการให้ยา (Duration of treatment)
: ใช้ยาในระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสม ไม่นานหรือสั้นเกินไป