Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติกับการเกษตร, สาเหตุพื้นที่ป่าลดลง, สาเหตุ,…
ระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติกับการเกษตร
แนวคิด
ความหมายและประเภท
สิ่งแวดล้อม
ประเภท
กรณีจำแนกตามลักษณะการดำรงชีวิต
physical environment
biotic environment
man-made environment
natural environment
สรรพสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวสิ่งมีชีวิต ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม มีอิทธิพลเกี่ยวโยงเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน
ระบบนิเวศ
ระบบที่แสดงถึงสภาพความเป็นอยู่ร่วมกันของสิ่งทั้งหลาย ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตในถิ่นที่อยู่อาศัย ซึ่งจะมีระเบียบความสัมพันธ์และมีกลไกที่สามารถรักษาให้อยู่ในภาวะสมดุลได้เป็นอย่างดี
ระบบนิเวศธรรมชาติและใกล้ธรรมชาติ
ระบบนิเวศบนบก
ป่าผลัดใบเขตอบอุ่น
ทุ่งหญ้าเขตร้อน
ทะเลทราย
ป่าอบอุ่นชื้น
ป่าร้อนชื้นหรือป่าฝนเขตร้อน
ป่าสนในซีกโลกเหนือ
ทุ่งหญ้าเขตร้อน
ทุนดรา
ป่าแคระหรือป่าผลัดใบในเขตร้อน
ระบบนิเวศในน้ำ
ระบบนิเวศน้ำจืด ได้แก่ ระบบนิเวศทะเลสาบน้ำจืด, ที่ลุ่มชื้นแฉะและป่าพรุ
และแม่น้ำ
ระบบนิเวศน้ำกร่อย ได้แก่ ระบบนิเวศชะวากทะเล และระบบนิเวศดินดอนสามเหลี่ยม
ระบบนิเวศน้ำเค็ม ได้แก่ intertidal zone, neratic zone, oceanic zone
ระบบนิเวศเกษตร
ความหลากหลายทางชีวภาพไม่มากชนิดเท่าระบบนิเวศธรรมชาติและใกล้ธรรมชาติ
มีเกษตรกรเข้าไปบริหารจัดการ
ห่วงโซ่อาหารสั้น ระบบสายใยอาหารซับซ้อนน้อย
เสถียรภาพของระบบอยู่ในระดับต่ำ
เป็นระบบเปิดมากกว่าระบบนิเวศธรรมชาติ
ระบบนิเวศเมืองและอุสาหกรรม
มีการเผาผลาญอาหารต่อหน่วยพื้นที่มาก
ต้องการสารเข้าไปในพื้นที่มาก
มีสารพิษจากการสังเคราะห์มากและเป็นพิษกว่าของเสียที่เกิดจากธรรมชาติ
องค์ประกอบระบบนิเวศ
สิ่งมีชีวิต
inorganic substance
organic substance
physical substance
สิ่งไม่มีชีวิต
ผู้ผลิต
ผู้บริโภค
ผู้ย่อยสลาย
ทรัพยากรธรรมชาติ
เป็นสิ่งที่มีอยู่เองในธรรมชาติ หรือมนุษย์สร้างขึ้น
ทรัพยากรที่มนุษย์เข้าไปมีส่วนดัดแปลงหรือสร้างขึ้น
ทรัพยากรชีวกายภาพ
ทรัพยากรเศรษฐสังคม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ใช้แล้วหมดไป
ใช้แล้วไม่หมดสิ้นไป
ใช้แล้วทดแทนได้
สถานการณ์และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย
ดินและที่ดิน
พื้นที่ทั้งหมดในประเทศไทยประมาณ 320 ล้านไร่ ส่วนใหญ่ใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร โดยเฉพาะการทำนา
พื้นที่ป่าไม้ลดลง ความต้องการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรและกิจกรรมอื่น ๆ เพิ่มมากขึ้น แต่ที่ดินมีจำกัด
สาเหตุของปัญหาเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรดินและที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม
ใช้ที่ดินไม่ตรงสมรรถนะหรือไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
เกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน
ภัยพิบัติธรรมชาติ
ความไม่เท่าเทียมกันในการถือครองที่ดิน
การเสื่อมโทรมคุณภาพของดินทั้งทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมี
แหล่งน้ำ
ปัญหาขาดแคลนแหล่งน้ำ
การบุกรุกป่าต้นน้ำลำธาร
การเปิดหน้าดินจากการบุกรุกทำลายป่า
การสะสมตะกอนในลำน้ำ
ป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพ
การลักลอบล่าสัตว์ การส่งเสริมการท่องเที่ยว (เช่น ปัญหาทิ้งขยะของนักท่องเที่ยวในพื้นที่ป่าอนุรักษ์) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ไฟป่า
การบุกรุกพื้นที่ป่าเพื่อยึดครองพื้นที่ และการลักลอบตัดไม้ทำลายป่า
ประมง
ธุรกิจประมงขยายตัวอย่างรวดเร็ว
มีการพัฒนาเทคโนโลยีการจัยสัตว์น้ำ ทำให้จับสัตว์น้ำได้ทั้งที่มีขนาดเล็กและการเพาะเลี้ยงชายฝั่ง
อิทธิพลของมนุษย์และการเกษตรต่อระบบนิเวศ
ปัญหามลพิษและความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
มลพิษทางขยะและสิ่งปฏิกูล
มลพิษทางเสียง
มลพิษทางเกษตรและสารเคมีปราบศัตรูพืช เช่น การเผาทำลานซากพืช
มบพิษทางอากาศ เช่น ไฟป่า ฝุ่นละออง มลพิษจาก CO
มลพิษทางน้ำ เช่น น้ำเน่า น้ำเป็นพิษ น้ำที่มีคราบน้ำมัน
มลพิษทางดิน เช่น สารเคมีทางการเกษตรตกค้างในดิน
การผลิตทางการเกษตรกับระบบนิเวศ
พื้นที่ป่าและความหลากหลายทางชีวภาพลดลง
คุณภาพดินเสื่อมโทรม
สูญเสียพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์พื้นเมือง
เกิดมลพิษจากสารเคมี
ก่อให้เกิดอันตรายกับสุขภาพมนุษย์ เช่น สารเคมีทำให้ตาอักเสบ สูญเสียการมองเห็น
อื่น ๆ เช่น ผลกระทบทางวัฒนธรรม
สาเหตุพื้นที่ป่าลดลง
สาเหตุ
ผลกระทบ