Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
Physical examination
General Appearance
Height and Weight / Vital signs
Nose
Sinuses
Lips
Pharynx
Neck
Thorax
Abdomen
Extremities
Diagnostic Tests and Procedures
Laryngoscopy เพื่อตรวจหาความผิดปกติที่ larynx
Fiberoptic Brochoscopy เพื่อตรวจหาความผิดปกติที่ biospy
Thoracentesis เพื่อตรวจหา malignancy cells, Pleural fluid aspirated
Tuberculin Skin Test เพื่อตรวจคัดกรองการติดเชื้อวัณโรค
Radiologic Studies เพื่อประเมินความก้าวหน้าของโรคและติดตามผล
Imaging Procedures
Computed Tomography (CT) เพื่อหา lesions/tumors
Magnetic Resonance Imaging (MRI)
Positron Emission Tomography (PET)
เพื่อแยก maligant ออกจาก benign cell
Pulmonary Function Tests
เพื่อวินิจฉัย Pulmonary disease
ใช้เครื่อง Spirometer
งดยาขยายหลอดลม
การพยาบาลขณะตรวจ : ประเมินอาการแสดง ภาวะ syncpoe ความวิตกกังวล
การพยาบาลหลังตรวจ : พักสังเกต 15-20 นาที / vital sign
จากการตรวจได้ : FVC/ FEV1/ Peak expiratory flow
Arterial Blood Gas Analysis
วัดความเข้มข้นของ O2 , CO2 ในหลอดเลือดแดง
วิเคราะห์ดูค่า pH, PaCO2, PaO2, HCO3, และ O2 saturation
Upper Respiratory Disorder
Allergic rhinitis
Signs and Symptoms : จาม คัดจมูก นำ้มูกใส
Medical treatment : ยา corticosteroid, antihistamine, Decongestants
ให้คำแนะนำการใช้ยาแก้แพ้
Acute Viral Coryza
Signs and Symptoms : ไข้ อ่อนเพลีย มีนำ้มูก เจ็บคอ
Medical treatment : ยา antihistamine, decongestants, antitussives, antipyretics แนะนำให้หลีกเลี่ยง antibiotic
Bronchitis
สาเหตุ : มีการระคายเคืองหรือติดเชื้อ มลพิษ
การตรวจร่างกาย : ฟังปอดได้ยิน Rhonchi
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ตรวจเสมหะพบ mononuclear ceมาก
การรักษา : ให้ยาบรรเทาอาการไอ Codine, Romilar
ให้ดื่มนำ้เพียงพอ เพื่อให้เสมหะไหลได้ออกมาสะดวก
Sinusitis
Sign and symptoms : Acute ไข้ ปวดบริเวณไซนัส / Chronic ปวดทั่วใบหน้า ร้าวไปฟัน
Medical treatment : ให้ยา decongestants,corticosteroids,analgesics drug
Nasal saline พ่น / ล้างจมูก
ให้ antibiotic
Lower Respiratory Disorder
Pneumonia
Aspiration pneumonia
Ventilator-associated pneumonia (VAP)
Community-Acquired Pneumonia (CAP)
Hospital-Acquired Pneumonia (HAP)
สาหตุ : การลดลงของความสามารถในการป้องกันการติดเชื้อของปอด
อาการ : มีไข้สูง หนาวสั่น หายใจหอบ dyspnea ไอแห้ง
ภาวะแทรกซ้อน : : Pleural effusion, Empyema, Lung Atelectasis ภาวะ Aseptic shock other
การประเมินสภาพ : การซักประวัติ ตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา : ให้ยาปฏิชีวนะโดยไวที่สุดและการรักษาทั่วไป / ให้สารนำ้
BRONCHIECTASIS
อาการ : ไอเรื้อรัง มี purulent sputum จำนวนมาก
การวินิจฉัย : ผลวิเคราะห์ค่า ABG แสดง PaO2 ตำ่, Bronchoscopy, Chest X-ray
Management : ควบคุมการติดเชื้อ / ขจัดเสมหะ / การรักษาด้วยยา / การผ่าตัด
การพยาบาล : Chest physical therapy techniques, Provide humidificationเพื่อให้เสมหะอ่อนตัว
Asthma
อาการ : หอบเหนื่อย หายใจลำบาก
Asthmatic attacks มีอาการเฉียบพลัน
การพยาบาล : ดูแลให้ได้รับยารักษาภาวะหอบหืด
ดูแลให้ทางเดินหายใจโล่ง
การรักษา : ยาขยายหลอดลม Beta-adrenergic agonist, Anticholinergic, Anti-inflammation
การให้ยา : ให้ยาขยายหลอดลม
Lung Abscess
อาการและอาการแสดง : ไข้สูง หนาวสั่น ปวดเมื่อย เจ็บหน้าอก รายที่เป็นเรื้อรังมักเบื่ออาการ
การตรวจร่างกาย : พบการขยายตัวของปอดสองข้างไม่เท่ากัน
การตรวจพิเศษ : X ray / ตการรวจเสมหะ / การตรวจเลือด
การพยาบาล : ลดการติดเชื้อในปอด โดยการให้ยาปฏิชีวนะ /
บรรเอาอาการโดยพยายามขับเสมหะออกให้มากที่สุด
Lung cancer
สาเหตุ : การสูบบุหรี่ / ก๊าซเรดอน / ปอดมีการติดเชื้อ
อาการ : การไอเรื้อรังระยะเวลานาน เจ็บหน้าอก
การวินิจฉัย : Chest X-ray / CT-scan / PET-CT Scan/ Bronchoscopy และ Biopsy
การรักษา : ขึ้นอยู่กับความรุนเรงของโรค
การพยาบาล : ให้การดูแลปัญหาการขาดออกซิเจน และการคั่งของCO2 / ดูแลเกี่ยวกับการไม่ได้รับความสุขสบายเนื่องจากหายใจลำบาก
Nursing Assessment
of the Respiratory Tract
Health History
Chief Complaint
Present Health
Family History
Previous respiratory disorder , Allergies , Trauma,Surgery,OTCdrugs,Immunizations
Anatomy and Physiology
of the Respiratory System
Nose
External nose
Internal nose
Sinus
ผลิต mucus
Throat
Pharynx, tonsils&adenoids, Larynx, Epiglottis
Trachea, Bronchi
Lung : ปอดขวา 3 lobe ปอดซ้าย 2 lobe
กมรพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดทรวงอก (Thoractomy)
มี 4 ประเภท Exploratory thoracotomy, Resectional pulmonary surgery, Decortication, Thoracoplasty
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด : Dyspnea พบบ่อยที่สุด / Arrhythmia พบมากในผู้ป่วยอายุมากกว่า 60 ปี / Hemorrhage, Empyema, Tension pneumothorax, Pneumonia, Pain
การพยาบาล : นอนหงายราบ / ผู้ป่วยที่ทำ Lobectomy ให้นอนตะแคงทับข้างที่ไม่ได้ผ่า / ผู้ป่วยที่ทำ Pneumonectomy ให้นอนตะแคงทับข้างที่ผ่าน /
: การใส่ท่อระบายทรวงอก (ICD)
Chronic Obstructive Pulmonary Disease (COPD)
สาเหตุ : การสูบบุหรี่ ร้อยละ 80-90 /
การขาด 1 antitrypsin
Chronic Bronchitis
Cyanosis ไอ มีเสมหะ, Respiratory Acidosis
, Hemoglobin สูง, Clubbing fingers
Emphysema
CO2 retention, หายใจแบบ purse lip หายใจออกยาว , Dyspnea / Exertional dyspnea
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย มี 5 ระดับ
ระดับที่ 1 ไม่มีข้อกำจัดใดๆ FEV1 3 Lits
ระดับที่ 2ทำงานที่หนักไม่ได้ ขึ้นบันได 1 ชั้นได้
FEV1 2-3 Lits
ระดับที่ 3ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ ขึ้นบันไดเหนื่อย
FEV1 1.5-2 Lits
ระดับที่ 4 ไม่สามารถทำงานได้ ขึ้นบันไดต้องหยุดพัก
FEV1 1.2 Lits
ระดับที่ 5 ช้วยเหลือตนเองไม่ได้ FEV1 น้อยกว่า0.5 Lits
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : ระยะเวลา ลักษณะโรค
การตรวจร่างกาย : สีผิว O2 sat
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : Pulmonary function test FEV1 ตำ่กว่าปกติ / TLC สูงกว่าปกติ / การตรวจ Arterial blood gas / การตรวจ EKG
Treatment
บรรเทาอาการของโรคให้ลดน้อยลง: ให้ออกซิเจนในขนาดพอเหมาะ
การให้ยาขยายหลอดยา
การป้องกันการกำเริบของโรค
การพยาบาล
การให้ออกซิเจน / จัดท่า / อาหาร / การฟื้นฟูสมรรถภาพ/ พักผ่อน
Pulmonary Embolism (PE)
อาการและอาการแสดง : หายใจหอบเหนื่อยมาก ใจสั่น แน่นหน้าอก หน้ามือ ไอเป็นเลือด
การวินิจฉัย : การซักประวัติ / chest X-ray /wells scoring system /12 leads-ECG/Echocardiography/arterial blood gas, ABG , ค่า biomarkers
การรักษาเบื้องต้น : การ resuscitation
การรักษาเฉพาะโรค : การให้ยาละลายลิ่มเลือด
การผ่าตัดเอาลิ่มเลือดออก
การพยาบาลตามอาการรุนแรง
Pulmonary edema
สาเหตุ : จากหัวใจ คือ หัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว
ไม่ใช้หัวใจ คือ การเปลี่ยนแปลงของผนังหลอดเลือดฝอย
การประเมินสภาพ : การซักประวัติ / การตรวจร่างกาย / ภาพรังสีทรวงอก
MAD DOG
M = Morphine
A = Aminophylline D = Digitalis
D = Diuretics (Lasix)
O = Oxygen
G = Gases (Blood Gases/ABGs)
The picture can't be displa
การพยาบาล : ให้นอนศีรษะสูงในท่านั่ง / ดูแลให้ได้รับออกซิเจน mask / vital sign / ดูแลให้ได้รับสารนำ้หยดช้าๆ
Respiratory Failure
AHRF type 1
AHRF type 2
อาการและอาการแสดง : Hypoxemia, Tissue hypoxia, Cyanosis , Hypercapnia
การรักษา
Hypoxemia : Reduce ventilatory workload, Correct E’lyte, Nutrition support, Stabilize hemodynamic imbalance, Rehabilitation
Hypercapnia : Oxygenation, Medication, Surgery
การพยาบาล : ประเมินอาการ / ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง / ดูแลได้รับออกซิเจนและติดตามผล ABG
Acute Respiratory Distress Syndrome :ARDS
สาเหตุ : อาจเกิดได้ทั้งจากความผิดปกติที่ปอดโดยตรง
การรักษา : แบบจำเพาะ / แบบประคับประคอง
การพยาบาล : ประเมินการหายใจ ภาวะพร่องออกซิเจน / ตรวจสอบตำแหน่ง Endotracheal tube
อาการ : หายใจเร็ว เเรง หน้าอกบุ๋ม เขียว
ผู้ป่วยทุกรายเมื่อให้ออกซิเจนไม่ดีขึ้น มักจบลงด้วยการใส่ท่อหลอดลมคอ แล้วต่อกับเครื่องช่วยหายใจ
การช่วยเหลือและการพยาบาลผู้ที่ได้รับการใส่ท่อทางเดินหายใจ
Oropharyngeal airway
Nasopharyngeal airway
ขั้นตอนการใส่ Endotracheal Tube
ผู้ป่วยมีภาวะหายใจล้มเหลว
Upper airway obstruction
Loss of protection airway reflex
Apnea
Cardiac Arrest
การพยาบาล
ตรวจดูตำแหน่งท่อสม่ำเสมอ
Ventilate ให้เพียงพอขณะใส่ท่อ
ดูดเสมหะ สังเกตสี
ภาวะแทรกซ้อน : ภาวะ Hypoxia / Infection / Obstruction และอื่นๆ
ผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจ
วัตถุประสงค์ : เพื่อรักษาสมดุลของร่างกายไว้ชั่วคราว
ข้อบ่งซี้ : ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรักษาาชระดับของ PaO2 ให้มากกว่า 50 mmHg หรือ O sat ให้มากกว่า 88%
การพยาบาล : ประเมินการทำงานและปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจ
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ (weaning)
ข้อบ่งชี้ : ผล X ray ดีขึ้น ปอดดีขึ้น ปอดขยายได้ดี เสมหะลดลง Hemodynamic ปกติแบะคงที่
การพยาบาลก่อนหย่า : ประเมินผู้ป่วย ความพร้อมทางสรีรวิทยา ความพร้อมด้านจิตใจ
วิธีหย่า
Conventional method
การหยุดใช้เครื่องช่วยหายใจทันที / ค่อยๆหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Intermittent mandatory method
ผู้ป่วยที่มีปริมาตรอากาศที่หายใจต่อครั้งต่อนาทีน้อย / ผู้ป่วยที่มีปริมาตรอากาศที่ไม่มีการแลกเปลี่ยน / ผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านจิตใจ
ขั้นตอนหย่า
อธิบายให้ผู้ป่วยทราย ให้กำลังใจและความมั่นใจ
เตรียมอุปกรณ์ เครื่อง Suction, T-piece, Nebulizer, Tracheostomy mask, Ambu, เครื่องวัดความดันโลหิต, เครื่องช่วยหายใจ:
จัดท่านอนศีรษะสูง 20-40 องศา
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วย
ดูดเสมหะจากท่อทางเดินหายใจและปากให้โล่ง
ปลดเครื่องช่วยหายใจให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
สังเกตและบันทึกระดับความรูสีกตัว
วัด Tidal volume ต้อง > 300 m
เมื่อผู้ป่วยมีค่า PaO2 เพียงพอ ให้ลดระดับลงจนหายใจ room air ได้
Pulmonary TB
การติดเชื้อ Mycobacterium Tuberculosis complex
ย้อมเสมหะพบเชื้อ / ไม่พบเชื้อ
วันณโรคนอกปอด : เยื่อหุ้มปอด ต่อมนำ้เหลือง เยื่อบุช่องท้องเป็นต้น
การวินิจฉัย : ซักประวัติ X ray
การรักษาด้วยยา : 2HRZE(S)/4HR, 2HRZES/1HRZE/5HRE, Isoniazid
การพยาบาล : แนะนำการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง / แนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การช่วยเหลือแพทย์ในการใส่ท่อระบายทรวงอก
การดูแลท่อระบายทรวงอก
ควรทำความสะอาดด้วยวิธีปลอดเชื้อ / ตรวจสอบเสมอว่ารอยต่อต่างๆไม่มีการรั่วซึม / การอุดตัน / เลือกใช้ชนิดระบบของขวดให้เหมาะ / จัดวางขวดระบายให้ตำ่กว่าระดับอก / ตรวจสอบระบบ under water sealed system
การถอดท่อระบายทรวงอก
ในกรณีที่เป็นลม ต้องไม่มีลมออกมาแม้ขณะไอแรงๆ / กรณีเป็นเลือดต้องสีจาง / กรณีเป็นหนอง ต้องใส่ไว้จนกว่าจะดีขึ้น / ผลตรวจ X ray แสดงปอดขยายเต็มที่ / หมั่นสังเกตการหายใจและvital sign
ภาวะแทรกซ้อน
Hemothorax, Lung laceration , Diaphragm/abdominal cavity penetration, Stomach/colon injury from unrecognized diaphragmatic hernia, Pneumothorax after removal