Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหัวใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหัวใจ
การประเมินสภาพความ
ผิดปกติของหัวใจ
การซักประวัติ
ข้อมูลทั่วไป เช่น อายุ เพศ อาชีพ ข้อมูลส่วนอื่นๆ
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน อดีต และบุคคลในครอบครัว
แบบแผนการดำเนินชีวิต
การตรวจร่างกาย
ลักษณะทั่วไป ท่าทาง อาการลักษะการหายใจ
การดู คลำ และฟัง
การประเมินค่า CVP JVP
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับเอนไซม์ในกระแสเลือด SGOT, LDH,CK
CBC
การตรวจสารเคมีในเลือด K+, Ca2+, BUN,Cr
การตรวจอื่นๆ ABG, Serum VDRL
การตรวจพิเศษ
EKG, ECG
Exercise stress test
Cadiac catheterization
Echocardiography
การพยาบาลหลังผ่าตัดหัวใจ
สำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรค COPD ต้องตรวจ Pulmonary funtion test และ Aterial blood gas
ผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่อง Carotid bruits ตรวจ Carotis duplex
ในผู้ป่วยที่ได้รับยา Antiplatelet , Aspirin ให้งดก่อน 7-10 วัน Warfarin ให้งด 3-5 วัน ก่อนผ่าตัด
โรคและความผิดปกติของหัวใจ
การทำหน้าที่ของหัวใจที่ผิดปกติ
โรคหลอดเลือดหัวใจ (CDC/CDH
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายหรือขาดเลือดเฉียบพลัน (ACS)
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
SinusTachycardia, Sinus Bradycardia
PrematureAtrialContraction, PrematureVentricularContraction
Atrail Fibrilation, Atrail Flutter
VentricularTachycardia, Ventricular Fibrillation
Asystole
โรคที่เกิดจากโครงสร้าง
ของหัวใจผิดปกติ
ความผิดปกติที่เกิดจากการติดเชื้อ
Cardiomyopathy
Valvalar heart disease
ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับ
ผู้ป่วยก่อนผ่าตัดหัวใจ
มีความวิตกกังวลบลในการผ่าตัดเนื่องจากการขาดความรู้ กลัวเจ็บ เสียรูปลักษณ์จากแผลและกลัวเสียชีวิต
โรคหลอดลือดหัวใจ
Acute coronary syndrome: ACS
อาการที่พบบ่อย คือ เจ็บหน้าอก หายใจติดขัด รุนแรงถึงขั้นหัวใจวาย
การรักษา
การใช้ยา กลุ่มสเตียรอยด์ ยาต้านเกล็ดเลือด กลุ่มเบต้าบล็อคเกอร์ ยาลดความดัน
STEMI
การเปิดเส้นเลือดหัวใจ มักเลือกยาละลายลิ่มเลือด
ยา : Dual antiplatelet (Aspirin, Clopidogel, Prasugrel)
Anticoagulant, Oral betablocker, Antigiotension
NSTEMI / UA
ยา : Dual antiplatelet, Anticoagulant,
Betablocker,Nitrate
EKG 3 แบบ
Unstable Angina
NSTEMI
STEMI
กิจกรรมพยาบาล
Absolute bed rest
vital sign 1-4 hr
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดง Perfusion
ให้ออกซิเจนทาง Nasal cannula
รักษาด้วยหัตถภารพิเศษ
การสวนเพื่อขยายหลอดเลือด (PCI)
การใช้ Laser angiography
การผ่าตัด CABG
ปัญหาสขุภาพของผู้ป่วย
โรคหลอดเลือด
หัวใจในระยเฉียบพลัน
การแลกเปลี่ยนก็าซบกพร่อง / มีความทนต่อกิจกรรมลดลง / วิตกกังวล / การนอนหลับที่ผิดปกติ
ปัญหาสขุภาพของผู้ป่วย
โรคหลอดเลือด
หัวใจในระยะพักฟื้น
วิตกกังวล / การเผชิญปัญหาบกพร่อง / ขาดความรู้ / การดำรงสุขภาพไม่เหมาะสม
ภาวะหัวใจล้มเหลว
(Heart Failure)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ความผิดปกติที่เพิ่มภาระงานให้กับหัวใจมากเกินไป
ความผิดปกติที่รบกวนความสามารถในการสูบฉีดเลือด
ชนิดของโรคหัวใจล้มเหลว
Systolic บีบตัวได้ไม่ดี / diastolic คายตัวได้ไม่ดี
Left versus right ventricle failure
Low output / high output syndrome
NYHA Finctional Class
I : ใช้ชีวิตปกติ ไม่ปรากฏอาการ
II : ทำกิจกรรมได้น้อยลง ไม่มีอาการขณะพัก
III : ทำกิจกรรมได้น้อยลงมาก แสดงอาการเมื่อทำกิจกรรมเพียงเล็กน้อย
IV : มีอาการภาวะหัวใจล้มเหลวตลอดเวลาแม้ขณะพัก
แนวทางการจำแนกชนิดของผู้ป่วย
ACC/AHA Stanging (ABCD)
LVEF
เฉียบพลัน / เรื้อรัง
Wet dry cold warm
โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ
(Cardiac arrhythmai)
แบ่งเป็น 2 ประเภท
Bradyarrthythmias / Tachycardia
การพยาบาลภาวะ
หัวใจเต้นผิดปกติ
Vital sign ทุก 1-2 ชม.
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
และสังเกตอาการข้างเคียง
ทำ CPR และเดูแลผู้ป่วยเพื่อเตรียมทำ Defibrillation
การพยาบาลผู้ป่วยใส่เครื่องกระตุ้น
จังหวะการเต้นหัวใจ
ให้ผู้ป่วยได้รับความสะดวกสบายและผ่อนคลาย
ให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้อย่างปลอดภัยหากต้องใส่เครื่องอย่างถาวร
ให้ความรู้เกี่ยวกับเครื่อง การหลีกเลี่ยงอันตรายจากกระแสไฟฟ้า การออกกำลังกาย รวมถึงการมีเพศสัมพันธ์
ปัญหาสุขภาพที่อาจเกิด
ขึ้นกับผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
การแลกเปลี่ยนก๊าซบกพร่อง
มีภาวะไม่สมดุลของสาน้ำและอีเล็กโตไลท์
ปวดแผลผ่าตัดอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
ขาดความรู้และทักษะการปฏิบัติที่เหมาะสมเมื่อกลับบ้าน
Cardiomyopathy
Dilated Cardiomyopahty ( DCM)
โรคของกล้ามเน้ือหัวใจ มีหัวใจโต EF น้อยกว่า 40% ร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
Hypertropic Cardiomyopahty (HCM)
ผนังกั้น Ventricle หนากว่าส่วนอื่น อาจมีการอุดกั้นของกระแสเลือด
Restrictived Cardiomyopahty (RCM)
ความผิดปกติ คือ การคลายตัวของVentricle ขวาหรือซ้ายถูกเสียไป
การรักษา
DCM ใช้ Supportive treatment / Inotropic grug
HCM ด้วยยาต้านหัวใจเต้นผิดปกติ ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
RCM รักษาเหมือนโรคหัวใจล้มเหลว ผ่าตัดหัวใจ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากปริมาตรของเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
ความทนต่อกิจกรรมลดลง
Vulvular heart diseases
Mitral Stenosis : MS
เลือดจาก Left atrium (LA) จึงไหลเข้าสู่ Left ventricle (LV) ลดลง
อาการหายใจลำบากเมื่อออกแรงหรือเมื่อนอนราบ
Mitral Regurgitation: MR
มี 2 ระยะ คือ ระยะเฉียบพลัน และ ระยะเรื้อรัง
Aortic Stenosis: AS
ผู้ป่วยจะไม่มีอาการใดใดจนกว่าลิ้น Aortic จะตีบลงเหลือเพียง 1 ใน 3 เท่านั้น
Aortic Regurgitation: AR
ความดัน Systolic จึงสูงข้ึน ในขณะที่ความดัน Diastolic ตำ่ลงทำให้ Ventricle ล้มเหลว และมีเลือดคั่งในปอดตามมา
Tricuspid Stenosis: TS
มีผลทำให้เลือดดำที่คอโป่ง ตับโต ท้องโตและบวมได้
Tricuspid Regurgitation: TR
มีผลให้ความดันของระบบเลือดดำของระบบสูงขึ้น อาจเกิดภาวะหัวใจซีกขวาล้มเหลว
โครงสร้างของหัวใจผิดปกติ
ความผิดปกติที่เกิดจากการติดเชื้อ
โรคล้ินหัวใจอักเสบติดเชื้อหรือInfectiveendocarditis(IE)
มีอาการนำด้วยไข้ ร้อยละ 80 ไข้ไม่เกิน 1 เดือน บางรายอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนบริเวณที่ติดเชื้อ
การรักษา : ให้ยาต้านจุลชีพ / การผ่าตัด
การอักเสบที่กล้ามเนื้อหัวใจ
Myocarditis
มักเกิดภายหลังการติดเชื้อ ทำให้ความสามารถในการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจทำงานไม่มีประสิทธิภาพ
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
Pericarditis
ทำให้หัวใจไม่สามารถขยายตัวได้ มีผลให้เลือดไหลเข้าสู่หัวใจลดลง การสูบฉีดของหัวใจลดลง
การรักษา
ให้ยาแก้ปวด ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ข้อวินิจฉัยพยาบาล
เจ็บหน้าอกเนื่องจากเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ / จำนวนเลือดออกจากหัวใจลดลงเนื่องจากความดันในช่องเยื่อหุ้มหัวใจเพิ่มขึ้น