Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบทางเดินหายใจ, H=Isoniazid, R=Rifampicin, S-Streptomycin, Z…
ระบบทางเดินหายใจ
-
เครื่องช่วยหายใจ
Volume cycle ventlator
เครื่องช่วยหายใจชนิดนี้การหายใจเข้าจะสิ้นสุดลงเมื่อได้ปริมาตรตามที่ตั้งไว้ และจะเปลี่ยนเป็นการหายใจ ออกทันที ปริมาตรที่ได้จะไม่เปลี่ยนแปลงตามสภาพของปอด จึงอาจทำให้เกิด volume trauma ได้
Pressure cycle ventlator
เครื่องช่วยหายใจชนิดนี้การหายใจเข้าจะสิ้นสุดลงเมื่อได้ความดันตามที่ตั้งไว้ ผู้ป่วยมี อันตรายจากการได้รับความดันสูงๆ เรียกว่า barotrauma
Time cycle ventlator
เครื่องช่วยหายใจที่ใช้ระยะเวลาในการหายใจเข้าเป็นตัวสิ้นสุดระยะเวลาของการหายใจเข้า เมื่อที่ตั้งไว้แล้วจะเปลี่ยนเป็นการหายใจออกทันที
Dual control
เป็นเครื่องช่วยหายใจที่ประกอบด้วย pressure control และ volume control ร่วมกัน ความดันในการ ในช่วงการหายใจแต่ละครั้งจะปรับเปลี่ยนไปโดยอัตโนมัติ เพื่อให้ tidal volume คงที่ทุกครั้งในการหายใจ
ข้อบ่งชี้ในการใส่
-
-
ผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจหอบมาก มีลักษณะที่บ่งชี้ว่ามีการนำออกซิเจน (Oxygen delivery) ต่ำ เนื้อเยื่อขาดออกซิเจน เช่น ในภาวะช็อค เป็นต้น
การพยาบาล
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากมีการอุดกั้นทางเดินหายใจหรือท่อต่างๆ การรั่วของลมในตำแหน่งข้อต่อต่างๆ การตั้งเครื่องช่วยหายใจไม่ถูกต้อง
การติดเชื้อทางเดินหายใจ การใส่ท่อช่วยหายใจและการใช้เครื่องช่วยหายใจเป็นเวลานาน จะทำให้เกิดปอดอักเสบติดเชื้อ ที่เรียกว่า VAP (Ventilator associated pneumonia) ซึ่งพบได้บ่อยถึง 20 - 50% ของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
-
-
มีการทำลายเนื้อเยื่อบริเวณปาก จมูก และหลอดลม เนื่องจากความดันของลมในกระเปาะท่อหลอดลมคอ หรือการเลื่อนไปมาของท่อหลอดลม
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
สาเหตุที่ใช้เครื่องช่วยหายใจได้รับการแก้ไข ผล x-ray ปอดดีขึ้น ปอดขยายได้ดี เสมหะลดลง ฟังเสียงหายใจปกติ
ระดับความรู้สึกตัวดี รับประทานอาหารและน้ำได้อย่างเพียงพอ ปราศจากภาวะติดเชื้อ ไข้ ซีด อ่อนเพลีย ท้องอึด
การพยาบาลก่อนหย่า
ประเมินผู้ป่วย : ผู้ป่วยดีขึ้นหรือไม่ เหตุที่ทำให้ต้องใช้การช่วยหายใจถูกแก้ไขหรือยัง ผู้ป่วยมีอาการทางคลินิกคงที่หรือไม่ และประเมินความพร้อมทางสรีรวิทยาของผู้ป่วย โดยประเมินปัจจัยที่เป็นเหตุให้แพทย์หย่าเครื่องช่วยหายใจ
วิธีการหย่า
Conventional method เป็นวิธีที่ใช้กันทั่วไป โดยลองให้ออกซิเจน T-piece กรณีผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจมาไม่นานเกินไป (ไม่ควรเกิน 5 วัน) ทำได้ 2 วิธี
- การหยุดใช้เครื่องช่วยหายใจทันที แล้วให้ผู้ป่วยหายใจผ่าน T-piece แทน ปกติจะเริ่มลองที่ 30 นาที แล้วค่อยๆ เพิ่มเวลา วิธีนี้เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่ให้เครื่องช่วยหายใจหลังผ่าตัด
- ค่อยๆ หย่าเครื่องช่วยหายใจ ให้ผู้ป่วยหายใจผ่าน T-tUbe เป็นเวลาสั้นๆ ก่อน แล้วค่อยๆ เพิ่มให้นานขึ้น เช่น เริ่ม 5 นาที แล้วค่อยๆ เพิ่มเป็น 60 นาที หรือมากกว่า ทุก 2-3 ชั่วโมง
Intermittent mandatory method เป็นการลดอัตราการทำงานของเครื่องช่วยหายใจลงเรื่อยๆ ปล่อยให้ผู้ป่วยหายใจเองเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งหยุดเครื่องได้
-
H=Isoniazid, R=Rifampicin, S-Streptomycin, Z-Pyrazinamide, E-Ethambutol