Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องติดตามอัจฉริยะ, การพยาบาลข้อ 4., การพยาบาลข้อ 7., การพยาบาลข้อ 1.,…
เครื่องติดตามอัจฉริยะ
ประดิษฐ์ยังไง
มีภาวะThreatened Uterine Rupture
ทารกเสี่ยงต่อภาวะขาดออกชิเจนแรกเกิดเนื่องจากมีภาวะสายสะดือถูกกด
มารดามีภาวะเสี่ยงต่อภาวะช็อกเนื่องจากเป็นความดัน โลหิตสูงระหว่างการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อภาวะคลอดติดขัด
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจาการให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวขอบมดลูก
เจ็บครรภ์เนื่องจากมดลูกหดรัดตัว / ไม่สุขสบายเนื่องจากเจ็ครรภ์คลอด
คนไข้วิตกกังวลเนื่องจากได้รับการผ่าตัดคลอด
ประโยชน์
3 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยสังเกตว่ามีขาบวมอยู่ 1 วัน จากนั้นขายุบเป็นปกติไปเอง
5 วันก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยสังเกตว่ามีอาการขาบวมอีกครั้ง เป็นอยู่ตลอด ไม่ยุบบวม ไม่มีหนังตาบวม ไม่มีมือแขนบวม ปัสสาวะสีเหลืองใสปกติ
วิธีนำไปใช้
Subjective data
S : ผู้ป่วยเจ็บครรภ์มากร้องครวญคราง เริ่มเห็นรอยคอดปรากฏที่หน้าท้อง ต่ำกว่าสายสะดือ แตะท้องผู้ป่วยไม่ได้
Objective data
O : Fetal Heat Rate 150 ครั้ง/นาที
-Blood Pressure 149/96 mmHg
-ติด EFM พบ Variable decelerations
FHS 106 – 130 bpm
CAT II
Duration 60 – 70 วินาที
Interval 1 นาที 50 วนาที
Severity 3+ - 4+
-Pain score 10 คะแนน
S: ผู้ป่วยบอกว่าตาพร่ามัว
-มีอาการขาบวมเป็นอยู่ตลอด ไม่ยุบบวม
S : ผู้ป่วยอายุ 16 ปี
-ผู้ป่วยเจ็บครรภ์มากร้องครวญคราง เริ่มเห็นรอยคอดปรากฏที่หน้าท้อง ต่ำกว่าสายสะดือ แตะท้องผู้ป่วยไม่ได้
ประดิษฐ์เพื่อใคร
การพยาบาลข้อ 6.
อธิบายเพื่อทบทวนให้ผู้คลอดเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการคลอด รวมทั้งแผนการรักษาและการพยาบาล เพื่อให้เกิดความมั่นใจ และความรู้สึกปลอดภัยในการคลอด
ประเมินความเจ็บปวดเกี่ยวกับลักษณะความรุนแรงของความเจ็บปวด โดยสังเกตจากสิ่งต่อไปนี้
2.1 ซักถามพูดคุยถึงความเจ็บปวด
2.2 สังเกตและบันทึกพฤติกรรม การแสดงสีหน้า และการเคลื่อนไหว
2.3 สังเกตและบันทึกพฤติกรรม เกี่ยวกับการออกเสียงและการพูด
2.4 สังเกตหรือบันทึกพฤติกรรมด้านอารมณ์
2.5 สังเกตและบันทึก การเปลี่ยนแปลงด้านสรีระ เกี่ยวกับสัญญาณชีพ ทุก 30 นาที
2.6 ตรวจและบันทึก ความถี่ ความแรง และระยะเวลาของการหดรัดตัวของมดลูกทุก 30 นาที
2.7 ตรวจและบันทึก เกี่ยวกับสภาพปากมดลูก และอัตราความก้าวหน้าของการคลอด
2.8 ตรวจและบันทึก อัตราการเต้นของหัวใจทารก ทุก 30 นาที เพื่อประเมินสภาพของทารกอาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมดลูกหดรัดตัวถี่
จัดท่านอนให้ผู้คลอดรู้สึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อมากที่สุด โดยให้นอนตะแคงซ้ายใช้หมอนรองรับตามข้อต่างๆ เพื่อให้เลือดไปเลี้ยงมดลูกได้มากขึ้น
ประกับประคองทางด้านจิตใจ ให้กำลังใจผู้คลอดด้วยการพูดปลอบโยนแสดงความเห็นใจในความเจ็บปวดที่กำลังเผชิญอยู่ เพื่อให้ผู้คลอดเกิดกำลังใจที่จะต่อสู้กับความเจ็บปวดได้
ให้ผู้คลอดได้รับความสุขสบาย ทั้งทางค้านร่างกายและจิตใจ โดยดูแลและช่วยเหลือ ให้ผู้คลอดรักษาความสะอาดในช่องปาก เช็ดตัวด้วยน้ำเย็น เปลี่ยนเสื้อผ้าให้สะอาด ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ และจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดและสงบ เพื่อช่วยให้ผู้คลอดลดความเครียด ทำให้สุขสบายขึ้น
ส่งเสริมให้มีการผ่อนคลาย โดยการฝึกเทคนิคการหายใจและการผ่อนคลาย ก่อนฝึกต้องเตรียมสภาพแวดล้อม และเตรียมผู้คลอดให้พร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ ผู้ฝึกมีท่าทางสงบ เป็นกันเองกับผู้คลอด โดยใช้เทคนิคดังนี้
6.1 เทคนิคการหายใจ
-ให้ผู้คลอดนอนตะแคงช้าย มีหมอนรองรับตามข้อต่อต่างๆ เพ่งมองที่จุดใดจุดหนึ่งขณะที่มดลูกเริ่มมีการหดรัดตัว หายใจเข้าลึกๆทางจมูกช้าๆและผ่อนลมหายใจออกทางปากช้าๆ เมื่อมดลูกหดรัดตัวเต็มที่ เปลี่ยนเป็นหายใจแบบตื้นๆ เร็วๆ จนรู้สึกว่ามดลูกคลายตัวแล้วจึงกลับหายใจแบบช้ำอีก
6.2 การกระตุ้นผิวหนัง โดยการลูบ การนวด การคลึงเบาๆ บริเวณที่มีความเจ็บปวด เช่น
-การลูบหน้าท้อง หรือนวดเบาๆ โดย เริ่มจากบริเวณหัวเหน่าขึ้นไปหายอดมดลูก ในขณะหายใจเข้าและจากยอดมดลูกผ่านมาที่จุดเริ่มต้นใหม่ขณะที่มีการหายใจออก
การนวดหลัง ให้ผู้คลอดนอนตะแดง พยาบาลนวดลึกๆ เป็นวงกลม ที่บริเวณกระดูกก้นกบขณะมดลูกหดรัดตัวหรืออาจนวดเป็นรูปเลขแปดโดยผู้นวดกำมือและกางนิ้วหัวแม่มือออก วางด้านฝ่ามือลงบริเวณล่างสุดของหลัง กดน้ำหนักมือก่อนข้างแรงจนเป็นรูปเลขแปดวงเล็กแล้วค่อย ๆ เบาแรงกด เมื่อวนมือเป็นรูปเลขแปดวงใหญ่ขึ้น
ถ้าอาการยังไม่ดีขึ้น ให้ยา pethidine โดยให้ในอัตรา 12.5-50 mg intravenous หรือ 50-100 mg intramuscular ทุก 2-4 ชั่วโมง โดยยา จะเริ่มออกฤทธิ์หลังฉีดเข้าทางหลอดเลือดดา 5 นาที และอาจให้ยาร่วมกับ plasil (metoclopramide) 10 mg เพื่อป้องกัน หรือบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน
หลักการพยาบาลหลังการให้ยา pethidine มีดังนี้
ประเมินอาการคลื่นไส้ อาเจียน และการกดการหายใจ
เฝ้าระวังการกดหายใจในทารกซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ หลังฉีดยา pethidine 3-5 ชั่วโมง
ติดตามประเมินสัญญาณชีพหลังฉีดยา 15 นาที, 30 นาที -1 ชั่วโมง
แนะนำไม่ให้ลุกจากเตียง
การพยาบาลข้อ 4.
วัดสัญญาณชีพ
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ ทางหลอดเลือดดำ ตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินความก้าวหน้าในการคลอดโดยการตรวจภายใน ทุก 2 - 4 ชั่วโมง ตามความเหมาะสม
ระหว่างให้ Oxytocin ต้องเฝ้าติดตามอัตราการบีบรัดตัวของมดลูก และฟัง FHS อย่างใกล้ชิด/on EFM ไว้ ถ้าพบความผิดปกติต้องรายงานแพทย์ คือ
Hypertension
Tachysystole คือ Uterine Contraction ถี่กว่า 5 ครั้ง/10 นาที หรือหดรัดตัวนานเกิน 90 วินาที
FHR < 110min or > 160/min ให้หยุดยาทันทีแล้วเปลี่ยน IV เป็น LRS 1,000 ml IV rate
120 ml/hr. ให้นอนตะแคงซ้าย ให้ 0, mask with bag 15 lits/min ฟัง FHS ทุก 15 นาที
Pathograph ตัดผ่าน Alert line (ประเมินอุ้งเชิงกรานอีกครั้งว่าคลอดทางช่องคลอดได้หรือไม่)
บันทึกข้อมูลทั้งหมด ตลอดจนการรักษาที่ได้รับใน pathograph
การพยาบาลข้อ 7.
1.ชี้แจงมารดาถึงเหตุผลของการที่ต้องผ่าตัดคลอด
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการผ่าตัดคลอด ได้แก่ มารดาต้องได้รับการเตรียมความพร้อมด้านร่างกายโดยการทำความสะอาดผิวหนังหน้าท้อง การใส่สายสวนปัสสาวะ การได้รับยาปฏิชีวนะก่อนไปห้องผ่าตัด ก่อนการผ่าตัดคลอดจะต้องได้รับยาระงับความรู้สึกโดยการฉีดยาเข้าที่ไขสันหลัง หลังผ่าตัดคลอดจะมีแผล ผ่าตัดที่หน้าท้องและได้ยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูกไปอีก 24 ชั่วโมง
ให้มารดาอ่านและเซ็นยินยอมทำการผ่าตัดคลอดโดยให้ผู้ปกครองของ มารดาเซ็นต์เป็นพยานเนื่องจากมารดาไม่บรรลุนิติภาวะ
Retained foley’s catheter ให้กับมารดา
ดูแลความสะอาดร่างกาย ความสะอาดปากฟัน (Oral hygiene care ) เปลี่ยนเสื้อผ้าชุดใหม่ให้มารดา ตรวจสอบของมีค่าฝากไว้กับญาติ
ตรวจสัญญาณชีพก่อนไปผ่าตัดคลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกก่อนไปผ่าตัดคลอด
ประเมินสภาพทารกโดยการฟัง FHS ของทารกในครรภ์ก่อนไปผ่าตัดคลอด
การพยาบาลข้อ 1.
ให้มารดานอนตะแคงซ้าย
หยุดให้ syntocinon
ตรวจภายใน ประเมินปากมดลูกและภาวะสายสะดือย้อย
ให้ออกซิเจนแก่มารดาทางหน้ากาก 8-10 ลิตรต่อนาที
ให้ IV fluid เพื่อเพิ่ม intervillous perfusionหรือแก้ไขภาวะความดัน โลหิตต่ำ โดยเฉพาะที่เกิดจาก regional anesthesia
ดูแลการหดรัดตัวของมดลูก ฟัง FHS นับการดิ้นของทารก
รายงานแพทย์เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับผ่าตัด และเตรียมกู้ชีพทารก
การพยาบาลข้อ 2.
ให้มารดานอนตะแคงซ้าย
หยุดให้ syntocinon
ตรวจภายใน ประเมินปากมดลูกและภาวะสายสะดือย้อย
ให้ออกซิเจนแก่มารดาทางหน้ากาก 8-10 ลิตรต่อนาที
ให้ IV fluid เพื่อเพิ่ม intervillous perfusionหรือแก้ไขภาวะความดัน โลหิตต่ำ โดยเฉพาะที่เกิดจาก regional anesthesia
ดูแลการหดรัดตัวของมดลูก ฟัง FHS นับการดิ้นของทารก
รายงานแพทย์เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับผ่าตัด และเตรียมกู้ชีพทารก
การพยาบาล 5.
ระหว่างให้ Oxytocin ต้องเฝ้าติดตามอัตราการบีบรัดตัวของมดลูก และฟัง FHS อย่างใกล้ชิด/on EFM ไว้ ถ้าพบความผิดปกติต้องรายงานแพทย์ คือ
Hypertension
Tachysystole คือ Uterine Contraction ถี่กว่า 5 ครั้ง/10 นาที หรือหดรัดตัวนานเกิน 90 วินาที
FHR < 110min or > 160/min ให้หยุดยาทันทีแล้วเปลี่ยน IV เป็น LRS 1,000 ml IV rate
120 ml/hr. ให้นอนตะแคงซ้าย ให้ 0, mask with bag 15 lits/min ฟัง FHS ทุก 15 นาที
Pathograph ตัดผ่าน Alert line (ประเมินอุ้งเชิงกรานอีกครั้งว่าคลอดทางช่องคลอดได้หรือไม่)
บันทึกข้อมูลทั้งหมด ตลอดจนการรักษาที่ได้รับใน pathograph
เตรียม Guedel Airway ไว้ข้างเตียง
กรณีได้รับยา Meso4 เกินขนาดต้องให้ยา 10% calcium gluconate เพื่อต้านการออกฤทธิ์ของ MgSo4
3 วันก่อนมาโรงพยาบาล ระหว่างนั่งทางานคอมพิวเตอร์ ผู้ป่วยรู้สึกว่ามีอาการตาพร่า จึงได้ดมยาดม แล้ว อาการดีขึ้น จากน้ันกลับไปทางานต่อและไม่มีอาการตาพร่าซ้าอีก
ผู้ป่วยมาตามนัด ANC พบว่ามีความดันโลหิตสูง วัดความดันโลหิตได้ 149/98 mmHg ร่วมกับมีอาการขา บวมท้ังสองข้าง ยกขาสูงแล้วไม่ดีขึ้น ไม่มีอาการปวดศีรษะ มีอาการตาพร่ามัวเล็กน้อย ไม่มีอาการจุกแน่นล้ินปี่ ปัสสาวะปกติ ไม่มีปัสสาวะแสบขัด ไม่ได้สังเกตว่าปัสสาวะมีฟองผิดปกติ อุจจาระปกติ ไม่รู้สึกมีไข้ ไม่มีหอบเหนื่อย รับประทานอาหารได้ปกติ ได้รับการตรวจ urine dipstick test ที่ OPD ANC พบ protein +3 ทารกดิ้นดี มากกว่า 10 ครั้งต่อวัน ไม่มีเจ็บท้องหรือท้องแข็ง ไม่มีน้าเดิน ไม่มีมูกเลือดไหลออกทางช่องคลอด ไม่มีตกขาวผิดปกติ
ติดตามประเมินปริมาตรน้ำเข้า ออกจากร่างกาย โดยเฉพาะปัสสาวะต้องไม่น้อยกว่า 25-30 มล./ชม.