Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสภาพความผิดปกติของหลอดเลือดส่วนปลาย, ในคนทั่วไป Systolic >…
-
ในคนทั่วไป Systolic > 140 mmHg., Diastolic >= 90 mmHg.
ในผู้ป่วยเบาหวานหรือไต Systolic > 130 mmHg., Diastolic >= 85 mmHg.
ภาวะที่ผนังหลอดเลือดแดงขนาดใหญ่หนาข้ึนจากการสะสมของแผ่นไขมัน (Lipid plaque)
บริเวณที่พบมากที่สุด คือ Abdominal aorta
การอักเสบของหลอดเลือดแดงส่วนปลาย มักเกิดในผู้ชาย อายุไม่เกิน 40 ปี ที่มีประวัติสูบบุหรี่มากๆ แต่ในผู้หญิงจะพบในคนที่มีอายุมากขึ้น
-
ยาที่ใช้รักษาในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของหลอดเลือดแดง
- Anticoagulants (ยาต้านการแข็งตัวของเลือด) : Heparin, Coumadin, Tromexan
ระหว่างใช้ยานี้ควรเจาะเลือดหา Prothrombin time สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ติดต่อกัน 4 สัปดาห์
- Vasodilators (ยาขยายหลอดเลือด) : Papavarine, Dibenzyline, Tolazoline, Dibenamine, Nylidrin
ผลข้างเคียง คือ ใจสั่น, หัวใจเต้นเร็ว, คลื่นอาเจียน
-
หลอดเลือดโป่งพองในช่องท้องสามารถคลำได้ก้อนที่เต้นตามจังหวะชีพจร (Pulsation mass)
มีชีพจรเต้นที่ด้านซ้ายของสะดือ
หลอดเลือดดำอักเสบ (Thrombophlebitis)
เกิดจากการติดเชื้อ ร่วมกับมี Thrombus เกาะที่ผนังหลอดเลือด ทำให้เกิดการอุดตัน พบบ่อยที่ขา มีอาการอักเสบ ปวด บวม แดง ร้อน
Phlebothrombosis
เกิดลิ่มเลือดโดยไม่มีการอักเสบของหลอดเลือดดำ พบบ่อยที่ขา หลังผ่าตัด หลังคลอด
หากใช้ยารักษาแล้วไม่ได้ผล และ Thrombus ขยายโตมากขึ้น จะพิจารณาผ่าตัด มี 2 วิธี คือ
- Venous thrombectomy : เมื่อบวมมากๆ และไม่สามารถให้ Heparin ได้
- Vein interruption : มี Thrombosis เรื้อรัง โดยผูกหลอดเลือดดำใหญ่ เพื่อป้องกัน Embolism ที่ปอด
-
หลอดเลือดขอดและมีลิ้นหลอดเลือดดำรั่ว แบ่งได้ 4 กลุ่ม
- หลอดเลือดดำที่ต้นขาขอดและโต เนื่องจากลิ้นหลอดเลือดดำบริเวณขาหนีบรั่ว
- หลอดเลือดดำที่น่องและขาขอด เนื่องจากลิ้นหลอดเลือดดำบริเวณหัวเข่ารั่ว
- หลอดเลือดขอดทั้งต้นขาและน่อง เนื่องจากหลอดเลือดดำรั่วหมด
- เกิดหลังการอักเสบของกลุ่มหลอดเลือดดำลึก มักมีขาบวมร่วมด้วย