Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร -…
หน่วยที่ 7
องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
4. องค์กรต่างประเทศและระหว่างประเทศและความเชื่อมโยงระหว่างองค์กรในการจัดการทรัพยากร
องค์กรต่างประเทศและระหว่างประเทศ
มีบทบาทโดยตรงในการดำเนินการในประเทศต่างๆ
มีบทบาทในการสนับสนุนทุนเพื่อการดำเนินการของรัฐและเอกชน
ผลักดันรณรงค์ประเด็นปัญหาการจัดการทรัพยากรต่อสังคมวงกว้าง
องค์กรต่างๆ และความเชื่อมโยง
แนวคิดต่างและเหมือนกันบ้างในบางประเด็น
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงหลายลักษณะ
สนับสนุนการทำงานหรือมีบทบาทการปฏิบัติงานร่วมกัน
3. องค์กรธุรกิจเอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน กับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
องค์กรพัฒนาเอกชน
ดำเนินงานเพื่อพัฒนาสังคม
ไม่แสวงหาผลกำไร
พัฒนาด้านสังคม สิ่งแวดล้อมการเกษตร คุ้มครองผู้บริโภค การศึกษา
มีบทบาทในการพัฒนาสนับสนุนองค์กรระดับรากหญ้า
รณรงค์ปัญหาด้านทรัพยากรต่อรัฐและสังคม
องค์กรธุรกิจเอกชน
เป็นองค์กรภาคเอกชนที่ดำเนินเป้าหมายเพื่อกำไร
มีบทบาทในการใช้และส่งเสริมการใช้ทรัพยากรในระบบการผลิตและรองรับผลผลิต การตลาด สนับสนุนปัจจัยการผลิต วิจัย พัฒนานวัตกรรม
2. องค์กรรัฐ องค์กรรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชนกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
องค์กรรัฐกับการจัดการทรัพยากร
ระบบการบริหาร ส่วนกลาง ภูมิภาค ท้องถิ่น
มีบทบาทตามกฎหมายระบุ
มีการติดตาม ควบคุม ดูแลการดำเนินงาน
มีบทบาทในการกำหนดนโยบาย และทิศทาง
การดำเนินงานร่วมกับองค์กรอื่นๆ
องค์กรรัฐวิสาหกิจกับการจัดการทรัพยากร
นำเอาระบบการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชนมาใช้ในการดำเนินงานโดยรัฐเป็นเจ้าของหรือร่วมทุน ร้อยละ 50
บทบาทเป็นแหล่งความรู้สนับสนุนปัจจัยการผลิต
รองรับผลผลิต กระตุ้นให้เกิดการพัฒนา
องค์การมหาชนกับการจัดการทรัพยากร
เป็นนิติบุคคล มีอิสระในการจัดการตนเอง
1. องค์กรเกษตรกรและองค์กรประชาชนกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
องค์กรเกษตรกรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากร
ความหมาย
องค์กรเกษตรกรเป็นองค์กรที่เกิดจากการรวมตัวกันของเกษตรกรเพื่อทำกิจกรรม ต่าง ๆ ร่วมกัน เพื่อแก้ไขปัญหา และช่วยเหลือสมาชิกหรือเครือข่าย
ความสำคัญ
องค์กรเกษตรกรจึงมีความสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาและต่อเกษตรกรเองซึ่งรวมถึงความสำคัญต่อการจัดการทรัพยากรในท้องถิ่นทั้งในปัจจุบันและในอนาคต
ประเภท
องค์กรเกษตรกรแบบเป็นทางการ
องค์กรเกษตรกรแบบไม่เป็นทางการ
องค์กรประชาชน ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากร
ประเภท
พิจารณาได้ในหลายลักษณะ ดังนี้
พิจารณาจากรปู แบบพื้นที่
พิจารณาจากการรวมตัว
พิจารณาจากลักษณะของกิจกรรม
พิจารณาจากความหลากหลายในเชิงประเดน
พิจารณาจากกระบวนการทางประชาสังคม
บทบาท
ประสานความร่วมมือและระดมทรัพยากร
เป็นกระบอกเสียงของคนในสังคม
ติดตาม ตรวจสอบ และเป็นพลังต่อรองที่สำคัญ
เป็นเวทีเรียนรู้ร่วมกันของคนทุกระดับ ทุกภาคส่วน ต่อปัญหาและประเด็นสาธารณะต่าง ๆ
ความสำคัญ
การพัฒนาที่มุ่งเน้นตัวประชาชน
สังคมทำหน้าที่จัดตั้งบนพื้นฐานหลักการองค์กรประชาชน
องค์กรประชาชนไม่ใช่ของใหม่ในประวัติศาสตร์
การจัดตั้งองค์กรประชาชน จะทำให้ประชาชนสามารถวางแผนได้อย่างเป็นระบบ
ความหมาย
การรวมตัวกันของภาคสังคมหรือภาคประชาชนไม่ว่าจะเป็นใครก็ตาม แต่มารวมตัวกันมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน มีอุดมคติร่วมกันมีความเอื้ออาทร มีมิตรภาพ มีการติดต่อสื่อสารกัน มีการดำเนินกิจกรรมร่วม และมีระบบการจัดการในกลุ่ม