Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร -…
หน่วยที่ 7 องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
7.1 องค์กรเกษตรกรและองค์กรประชาชนกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
องค์กรเกษตรกรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
ความหมาย
องค์กรเกษตรกรเป็นองค์กรที่เกิดจากการรวมตัวกันของเกษตรกรเพื่อทำกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการร่วมกันแก้ไขปัญหาการประกอบอาชีพการเกษตรและการช่วยเหลือเกื้อกูลกันในหมู่สมาชิกหรือเครือข่าย
ประเภทขององค์กรเกษตรกร
องค์กรเกษตรกรแบบเป็นทางการ
เช่น สมาคมชาวสวนยาง สมาคมชาวสวนผลไม้ เป็นต้น
องคก์รเกษตรกรแบบไม่เป็นทางการ
เป็นองค์กรเกษตรกรที่เกิดจากการรวมตัวของเกษตรกรที่
มีความสนใจหรือความต้องการเหมือนกัน
บทบาท
เป็นอำนาจแห่งการต่อรอง
เป็นศูนย์กลางแห่งการสะสมทุนของชุมชน
เป็นเวทีแห่งการเรียนรู้วิเคราะห์ปัญหาของกลุ่มและชุมชน
องค์กรประชาชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
ความหมาย
การรวมตัวกันของภาคสังคมหรือภาคประชาชนไม่ว่าจะเป็นใครก็ตาม แต่มารวมตัวกันมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน มีอุดมคติร่วมกันมีความเอื้ออาทร มีมิตรภาพ มีการติดต่อสื่อสารกัน มีการดำเนินกิจกรรมร่วม และมีระบบการจัดการในกลุ่ม เพื่อนำไปสู่สังคมที่มีความเข้มแข็งบนสำนึกสาธารณะหรือจิตสำนึกเพื่อส่วนรวม
ประเภทขององค์กรประชาชน
พิจารณาจากลักษณะของกิจกรรม
พิจารณาจากความหลากหลายในเชิงประเด็น ความสนใจ/ปัญหา
พิจารณาจากการรวมตัว
พิจารณาจากกระบวนการทางประชาสังคม
พิจารณาจากรูปแบบพื้นที่
บทบาท
ผลักดันและรณรงค์ให้สังคมได้ตื่นตัวในการแก้ไขปัญหา
ติดตาม ตรวจสอบ และเป็นพลังต่อรองที่สำคัญ
ประสานความร่วมมือและระดมทรัพยากรของคนที่หลากหลายมาร่วมคิดร่วมลงทุนในการพัฒนา
เป็นเวทีเรียนรู้ร่วมกันของคนทุกระดับ ทุกภาคส่วน
ร่วมทำกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาสังคมในทุกท้องถิ่น
องค์กรรัฐ องค์กรรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชนกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
องค์กรรัฐที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
ความหมายขององค์กรรัฐ
องค์กรที่จัดตั้งขึ้นโดยมีพระราชบัญญัติ กฎหมาย กฎ ระเบียบของประเทศ ของกระทรวง และกรม ซึ่งเป็นสถาบันทางราชการเป็นตัวกำหนดการจัดตั้ง มีองค์ประกอบ เช่น คณะรัฐมนตรี ข้าราชการ พนักงาน เจ้าหน้าที่ การดำเนินงาน หรือกิจกรรมทุกอย่างต้องอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย กฎ ระเบียบ ที่กำหนดขึ้นไว้เป็นการเฉพาะขององค์กรนั้น รวมทั้งยังมีกรอบปฏิบัติตามกฎหมาย ที่บุคคลภายนอกองค์กร ที่จะเข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่าง ๆ ต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
ประเภทขององค์กรรัฐ
การบริหารราชการส่วนภมูิภาค เช่น สำนักงานป่าไม้จังหวัด สำนักงานเกษตรจังหวัด
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
มี 4 รูปแบบ คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล และองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น รูปแบบพิเศษอื่น ๆ เช่น กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา เป็นต้น
การบริหารราชการส่วนกลาง ประกอบด้วย สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงและกรมต่าง ๆ โดยในส่วนของกรมจะมีการแบ่งส่วนเป็น สำนัก กอง หรือศูนย์ต่าง ๆ
บทบาทขององค์กรรัฐ
ติดตามควบคุมดูแลให้มีการจัดการทรัพยากรให้เหมาะสมเป็นไปตามระเบียบกฎเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้
สนับสนุนด้านต่าง ๆ เช่น งบประมาณ ความรู้ วัสดุอุปกรณ์ สิ่ง
อำนวยความสะดวก
กำหนดนโยบาย แผน การจัดการทรัพยากรร่วมกับองค์กรต่าง ๆ
ทั้งภาคเอกชนและประชาชน
องค์กรรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
องค์กรรัฐวิสาหกิจ
ประเภท
2) รัฐวิสาหกิจที่สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ องค์การจัดการน้ำเสีย องค์การสวนสัตว์ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
3) รัฐวิสาหกิจที่สังกัดกระทรวงการคลัง ได้แก่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โรงงานยาสูบ
1) รัฐวิสาหกิจที่สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้แก่ องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร องค์การสะพานปลา องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย องค์การสวนยาง สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง
บทบาท
3) เป็นผู้สนับสนุนปัจจัยการผลิตที่จำเป็นแก่เกษตรกร
4) เป็นแหล่งรองรับ ผลิตผลทางการเกษตร
2) เป็นแหล่งเผยแพร่ความรู้เฉพาะด้าน
5) เป็นศูนย์ประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ
1) เป็นแหล่งความร้และข้อมูล ข่าวสารเฉพาะด้านในการจัดการทรัพยากร
6) เป็นผู้ส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพผลผลิตและการจดัการทรัพยากร
องค์การมหาชน
ประเภท
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร(องค์การมหาชน)
สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง(องค์การมหาชน)
บทบาท
ดำเนินการตามบทบาทที่กฎหมายกำหนดให้เป็นหน้าที่ขององค์การเป็นการเฉพาะ ที่ต้องการประสิทธิภาพสูง เป็นกระทำการอันเป็นประโยชน์ส่วนรวม บูรณาการให้ผู้เกี่ยวข้องทั้งหมดเข้าร่วมกันทำงานอย่างมีเอกภาพ และประสานงานกันเพื่อความรวดเร็วในการดำเนินงานในแต่ละเรื่องที่เป็นความรับผิดชอบขององค์การ
องค์กรธุรกิจเอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน กับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
องค์กรธุรกิจเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
ประเภท
2) องค์กรธุรกิจที่มีลักษณะเป็นห้างหุ้นส่วน
3) บริษัท
1) องค์กรธุรกิจที่มีเจ้าของคนเดียว
บทบาท
4) ส่งเสริมการลงทุนในธุรกิจต่าง ๆ
5) การส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่เกษตรกรและชุมชน
3) ประสานงานด้านการตลาดและการส่งออกให้แก่ประเทศ
6) การสนับสนุน ปัจจัยการผลิตต่าง ๆ
2) เป็นแหล่งรอบรบัผลผลิต
7) การวิจัยและพัฒนา
1) ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรในการปรับปรุงระบบการผลิต
องค์กรพัฒนาเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
ประเภท
การแบ่งประเภทขององคก์รพัฒนาเอกชนตามบทบาทการทำงาน
องค์กรพัฒนาเอกชนประเภทให้การบริการ
องค์กรพัฒนาเอกชนที่ทำงานเสริมความเข้มแข็งให้กับประชาชน
องค์กรสนับสนุน
องค์กรที่เป็นร่มหรือองค์กรเครือข่าย
การแบ่งประเภทองค์กรพัฒนาเอกชนตามกลุ่มเนื้อหางาน
องค์กรพัฒนาเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม
องค์กรพัฒนาเอกชนด้านการเกษตร
องค์กรพัฒนาเอกชนด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
องค์กรพัฒนาเอกชนด้านชนกลุ่มน้อย
องค์กรพัฒนาเอกชนด้านการศึกษา
องค์กรพัฒนาเอกชนด้านสิทธิมนุษยชน
บทบาท
2) การตั้งคำถามตรวจสอบเพื่อให้เกิดการทบทวน
1) การนำเสนอทางเลือกทางออกให้กับสังคมในเรื่องต่าง ๆ
องค์กรต่างประเทศและระหว่างประเทศและความเชื่อมโยงระหว่างองค์กรในการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
องค์กรต่างประเทศและระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากร ในการส่งเสริมการเกษตร
ประเภท
องค์กรที่จัดตั้งโดยรัฐ
1.1 องค์กรต่างประเทศ
เป็นองค์กรที่จัดตั้งโดยรัฐบาลประเทศใดประเทศหนึ่ง และเข้ามาดำเนินการพัฒนาหรือช่วยเหลือหรือเกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในประเทศต่าง ๆ องค์กรเหล่านี
1.2 องค์กรระหว่างประเทศ
เป็นองค์กรที่จัดตั้งโดยรัฐหลายประเทศร่วมกันจัดตั้งขึ้น เป็นการรวมตัวจัดตั้งองค์กรโดยประเทศต่าง ๆ ที่มีความเห็นร่วมกันเพื่อให้เป็นองค์กรที่เกิดจากความร่วมมือของหลาย ๆ ประเทศและมีบทบาทในการให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ และพัฒนาแก่ประเทศต่าง ๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศที่ร่วมเป็นสมาชิกองค์กรเหล่านั้น โดยมีที่ตั้งอยู่ในประเทศต่าง ๆ
องค์กรที่จัดตั้งโดยภาคเอกชน
เป็นองค์กรต่างประเทศหรือระหว่างประเทศที่จัดตั้งขึ้นโดยองค์กรภาคเอกชน หรือองค์กรสาธารณกุศลต่าง ๆ มีลักษณะเป็นองค์กรพัฒนาเอกชน
บทบาท
บทบาทหลักในการให้ทุนแก่ประเทศหรือองค์กรพัฒนาในประเทศต่าง ๆ เพื่อใช้ในการดำเนินงานพัฒนาหรือการจัดการทรัพยากร
บทบาทหลักในการปฏิบัติการพัฒนาหรือจัดการทรัพยากร
ความเชื่อมโยงระหว่างองค์กรในการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
การเชื่อมโยงในมิติงานด้านต่างๆ
ได้แก่ การเชื่อมโยงด้านข้อมูลข่าวสารความรู้ด้านการศึกษาวิจัย ด้านการกำหนด ทิศทางนโยบาย ยุทธศาสตร์ ด้านการปฏิบัติการจัดการทรัพยากร ด้านทุนและทรัพยากรในการจัดการ ด้านการส่งเสริมการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน ด้านการรณรงค์ส่งเสริมสร้างความตระหนักต่อังคม และประเด็นสำคัญในการเชื่อมโยงระหว่าง องค์กรต่างๆ ทุกองค์กร
การเชื่อมโยงในมิติบทบาทการปฏิบัติงานการสนับสนุนซึ่งกันและกัน
องค์กรเกษตรกรจะเป็นองค์กรที่สำคัญ และมีบทบาทในการปฎิบัติการจัดการทรัพยากรในชุมชน ในหมู่บ้าน องค์กรบางองค์กร เช่น องค์กรระหว่างประเทศ องค์กรต่างประเทศ ก็อาจจะมีบทบาทในการสนับสนุนทุนทรัพยากรในการทำงานให้แก่องค์กรรัฐ หรือองค์กรพัฒนาเอกชนอีกด้วย