Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่14 ระบบศาลและกระบวนการยุติธรรม - Coggle Diagram
บทที่14 ระบบศาลและกระบวนการยุติธรรม
ระบบศาล
ระบบศาลทั่วไป
ระบบศาลเดี่ยว
ระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่พิจารณาวินิจฉัยคดีทุกประเภท
การใช้กฎหมายของศาลในระบบนี้จะไม่มีการแยกประเภทของกฎหมายแต่จะมีกฎหมายเพียงหนึ่งเดียวที่ใช้บังคับกับข้อพิพาททั้งหมดซึ่งในทางทฤษฎีเรียกว่า“กฎหมายธรรมดา” (Ordinary law)
การอุทธรณ์คำพิพากษาอยู่ภายใต้ศาลสูงสุดเดียวกันและมีศาลเพียงแห่งเดียวคือศาลยุติธรรม
การพิจารณาคดีใช้ระบบกล่าวหา(Accusatoire) ที่คู่กรณีจะเป็นผู้นำหรือรับภาระในการเสนอหรือแสวงหาข้อเท็จจริง
ระบบศาลคู่
เป็นระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดเฉพาะคดีแพ่งและคดีอาญาเท่านั้นส่วนคดีปกครองจะแยกให้ศาลปกครองเป็นศาลที่มีอำนาจในการวินิจฉัยคดีดังกล่าวข้อพิจารณาของการเป็นระบบศาลคู่คือการแยกระบบของผู้พิพากษาและการแยกองค์กรศาลปกครองออกจากระบบศาลยุติธรรม
ระบบศาลไทยในรัฐธรรมนูญ
ศาลยุติธรรม
มาตรา194 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ. 2560 บัญญัติว่า“ศาลยุติธรรมมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวงเว้นแต่คดีที่รัฐธรรมนูญนี้หรือกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจศาลอื่น…..”
ศาลทหาร
มาตรา199 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ. 2560 บัญญัติว่า
“ศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาซึ่งผู้กระทำผิดเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารและคดีอื่นทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ”
ศาลทหารชั้นต้น
ศาลทหารกลาง
ศาลทหารสูงสุด
ศาลรัฐธรรมนูญ
“มาตรา210 ศาลรัฐธรรมนูญมีหน้าที่และอำนาจ
ศาลปกครอง
“มาตรา197ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีปกครองอันเนื่องมาจากการใช้อำนาจทางปกครองตามกฎหมายหรือเนื่องมาจากการดำเนินกิจการทางปกครอง
ความหมายของกระบวนการยุติธรรม
หมายถึงขั้นตอนและวิธีการดำเนินการเพื่อนำตัวผู้กระทำผิดกฎหมายทั้งทางแพ่งและอาญาเข้ามาสู่การพิจารณาพิพากษาคดีตามความผิดที่กระทำขึ้นเพื่อคุ้มครองความปลอดภัยและสิทธิของบุคคลของในสังคม
หลักเกณฑ์ในการจำแนกคดีแพ่งและคดีอาญา
วัตถุประสงค์ของกฎหมาย
คดีแพ่ง
ต้องการบังคับให้ชำระหนี้และชดใช้ค่าสินไหมทดแทนความเสียหายแม้ว่าลูกหนี้ตายหนี้นั้นก็ตกแก่ทายาทเว้นแต่เป็นเรื่องเฉพาะตัว
คดีอาญา
ต้องการลงโทษแก่ผู้กระทำความผิดหากผู้กระทำตายการลงโทษต้องระงับ
สภาพบังคับของกฎหมาย
คดีแพ่ง
การบังคับในทางแพ่งคือการบังคับให้ชำระหนี้และชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
คดีอาญา
มีโทษทางอาญาได้แก่ประหารชีวิตจำคุกกักขังปรับริบทรัพย์สิน
การตีความกฎหมาย
คดีแพ่ง
ต้องตีความตามตัวอักษรและตามเจตนารมณ์ของกฎหมายนั้นๆ
คดีอาญา
ต้องตีความตามตัวอักษรและตีความโดยเคร่งครัด“หลักไม่มีความผิดและไม่มีโทษโดยไม่มีกฎหมาย”
การยอมความของคู่กรณี
คดีแพ่ง
คู่กรณีอาจตกลงระงับข้อพิพาทไม่นำคดีขึ้นฟ้องร้องศาลหรือแม้แต่ฟ้องร้องศาลไปแล้วก็อาจตกลงประนีประนอมยอมความกันได้เสมอ
คดีอาญา
โดยทั่วไปความผิดอาญาส่วนใหญ่ไม่อาจยอมความได้เว้นแต่กรณีที่เป็นความผิดต่อส่วนตัวซึ่งเป็นการกระทำผิดต่อผู้เสียหายโดยตรงเช่นหมิ่นประมาทยักยอก
กรณีมีผู้ร่วมกระทำความผิดหลายคน
คดีแพ่ง
ลูกหนี้ทุกคนต้องร่วมกันรับผิดต่อเจ้าหนี้หรือต่อผู้ที่ได้รับความเสียหาย
คดีอาญา
ต้องรับผิดมากน้อยแตกต่างกันตามลักษณะของการเข้าร่วมเช่นตัวการ/ ผู้ใช้/ ผู้สนับสนุน
ระบบของกระบวนการยุติธรรม
กระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง
ประเภทของคดีแพ่ง
คดีมีข้อพิพาท
คดีไม่มีข้อพิพาท
บุคคลที่เกี่ยวข้องในคดีแพ่ง
เขตอำนาจศาล
การพิจารณาคดีแพ่ง
คดีมีข้อพิพาท
คดีที่มีการโต้แย้งสิทธิหรือหน้าที่ของตนตามกฎหมายโดยมีจำเลยเข้ามาเป็นคู่ความด้วยต้องฟ้องคดีโดยทำเป็นคำฟ้อง
คดีไม่มีข้อพิพาท
คดีที่ไม่มีจำเลยเพราะไม่มีคำขอให้ศาลบังคับผู้ใดแต่เป็นคดีที่มีแต่“ผู้ร้อง” เพื่อใช้สิทธิทางศาลเพื่อขอให้ศาลแสดงสิทธิของตนหรือให้ตนมีสิทธิอย่างใดอย่างหนึ่งการฟ้องคดีต้องทำเป็นคำร้อง
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
บุคคลที่เกี่ยวข้องในคดีอาญา
ผู้กล่าวโทษ
ผู้เสียหาย
ผู้ถูกกล่าวหาในคดีอาญา
พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ
วิธีพิจารณาในชั้นศาล
การฟ้องคดีอาญา
การถอนฟ้อง
ฟ้องศาลใด
การไต่สวนมูลฟ้อง
การพิจารณาคดี
การบังคับคดีอาญา
การไต่สวนมูลฟ้อง
การพิจารณาคดี
การบังคับคดีอาญา
วิธีพิจารณาก่อนคดีขึ้นสู่ศาล
การจับกุมควบคุมตัวก่อนพิจารณาคดี
การสืบสวนสอบสวน
การขอประกันตัวหรือการปล่อยชั่วคราว
กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง