Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อมูลทั่วไป - Coggle Diagram
ข้อมูลทั่วไป
การตรวจร่างกาย
กระดูกและกล้ามเนื้อ
ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายซีกซ้ายได้ Motor power ที่แขนขาด้านขวา grade 5 , Motor power ขาข้างซ้าย grade 4 , Motor power แขนข้างซ้าย grade 0
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and Tear Theory
การดูดซึมแคลเซียมได้ไม่ดี ความหนาแน่นของกระดูกลดลงกระดูกจะโปร่งกระดูกอ่อนจะสูญเสียแคลเซียออกไปโดยเฉพาะที่กระดูกทำให้กระดูกเปราะและหักง่ายสำหรับเพศหญิงฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) ซึ่งทำหน้าที่กระตุ้นการทำงานของ เซลล์กระดูก (Osteoblast)ลดลงหลังหมดประจำเดือนจึงส่งผลให้แคลเซียมมีการสลายออกจากกระดูก ร้อยละ 2.5 ต่อปีทำให้กระดูกเปราะบางและแตกหักง่าย(วิไลวรรณ ทองเจริญ2548)ความยาวของกระดูกสันหลังลดลงเนื่องจากหมอนรองกระดูกบางลงกระดูกสันหลังเสื่อมหลังค่อมหรือเอียงทำให้กระดูกเคลื่อนกดทับเส้นประสาทกระดูกบริเวณข้อต่อต่างๆบางลงความสามารถในการรับแรงกระแทกลดลงเนื่องจากปริมาณน้ำไขข้อกระดูกลดลงเป็นเหตุให้เกิดข้อเสื่อมจากการที่มีการเคลื่อนของข้อมาสัมผัสหรือเสียดสีกัน
( Cross linking Theory)
มีการเชื่อมตามขวางของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (collagen cross linking) ทำให้ข้อต่อกระดูกมีความยืดหยุ่นลดลงทำให้การเคลื่อนไหวช้าลงต้องใช้ความพยายามมากขึ้นในการควบคุมทรงตัวไม่ค่อยดีการเคลื่อนไหวของข้อต่างๆลดลง
-
-
-
หัวใจและหลอดเลือด
อัตราการเต้นของหัวใจ 64 ครั้ง/นาที จังหวะการเต้นของหัวใจสม่ำเสมอ ฟังไม่พบเสียง murmur คลำพบชีพจร บริเวณคอ ข้อพับแขน ข้อมือ ขาหนีบ และหลังเท้า จังหวะสม่ำเสมอ ความดันโลหิต 130/80 mmHg
เยื่อบุตาไม่ซีด capillary refill 1 วินาที
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-
-
-
-
- ผู้สูงอายุเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มเนื่องจากประสิทธิภาพในการทรงตัวลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
O: ผู้สูงอายุไม่สามารถเดินทรงตัวได้
O: motor power ขาข้างซ้าย 4 คะแนน
O: ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายซีกซ้ายได้
-
เกณฑ์การประเมิน
1.ผู้สูงอายุไม่เกิดการบาดเจ็บและอุบัติเหตุจากการพลัดตกหกล้ม
- ผู้สูงอายุและผู้ดูแลสามารถดูแลสามารถในการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อได้ 6 ใน 8 ข้อของการออกกำลังกาย
การพยาบาล
- อธิบายให้คำแนะนำผู้สูงอายุเกี่ยวกับการป้องกันการพลัดตกหกล้มเพื่อไม่ให้ผู้สูงอายุเกิดการพลัดตกหกล้ม ดังนี้
1.1 แนะนำเมื่อทำกิจกรรมให้ลุกนั่งช้าๆ เพื่อป้องกันการเกิดอาการหน้ามืด วิงเวียนศรีษะ
1.2 แนะนำการใช้รองเท้าไม่ใส่ รองเท้าที่มีพื้นลื่น ควรใช้รองเท้าที่มีขนาด และรูปร่างเหมาะสมกับเท้า ไม่หลวมไม่แน่นจนเกินไป เพื่อป้องกันการลื่นล้ม
1.3 แนะนำการจัดสิ่งแวดล้อม โดยจัดวางของใช้ที่ใช้บ่อยไว้ใกล้มือ จัดสิ่งของให้เป็นระเบียบเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้ม
- แนะนำให้ผู้สูงอายุออกกำลังกายโดยเน้นที่การเพิ่มความมั่นคงในการยืน/เดินของผู้สูงอายุ เพิ่มความสามารถในการเคลื่อนที่และการเดิน ใช้การฝึกกรทรงตัว ฝึกกล้ามเนื้อให้แข็งแรงเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อ ยกตัวอย่างการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
-
-
-
กายบริหารที่ 4 ท่าบริหารเสริมการเคลื่อนไหว ของข้อสะโพกและเข่า , เลียนแบบการเคลื่อนไหวที่จำเป็นในการเดิน
-
-
-
-
-
ตามทฤษฎีความเสื่อมโทรม wear and teartheory คือ ระบบ ประสาทการมองเห็นมีการเปลี่ยนแปลง ทำให้ รูม่านตาเล็กลง ปฏิกิริยาตอบสนองของม่านตาต่อแสงลดลง ทำให้การปรับตัวสำหรับการมองเห็นใน สถานที่ต่างๆ ไม่ดี โดยเฉพาะในสถานที่ มืดกล้ามเนื้อลูกตาเสื่อมหน้าที่ สายตายาว ขึ้นมองเห็นภาพใกล้ไม่ชัดความสามารถในการอ่านและลานสายตาลดลง
ทฤษฎีภูมิคุ้มกัน(Immunological theory)ภูมิคุ้มกันผิดปกติไปทำลายตัวรับสัญญาณประสาทที่อยู่บนกล้ามเนื้อของตัวเองทำให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงเนื่องจากไม่สามารถรับสัญญาณประสาทที่กระตุ้นให้กล้ามเนื้อหดตัวได้หากกล้ามเนื้อเปลือกตาอ่อนแรงจะ ทำให้เกิดหนังตาตกหากกล้ามเนื้อตาที่ช่วยในการกลอกตาผิดปกติจะทำให้ผู้้ป่วยมองเห็นภาพซ้อน
โรคประจำตัว
โรคความดันโลหิตสูง เป็นมา 2 ปี รับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ยา Amlodipine 5 MG รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า , Losartan 50 MG รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
อาการ
ปวดศรีษะปวดบริเวณท้ายทอย เหนื่อยง่ายหายใจหอบ มึนงง ตามัว ปวดตา มือเท้าช้า คลื่นไส้อาเจียน ใจสั่น เลือดกำเดาไหล
วินิจฉัยโรค
การซักประวัติอาการ ประวัติการเจ็บป่วยทั้งในอดีตและปัจจุบัน ประวัติการใช้ยา การตรวจวัดความดันโลหิต การตรวจร่างกาย และการตรวจทางห้องปฏิบัติการต่าง ๆ เช่น การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (เพื่อดูการทางานของหัวใจ)
สาเหตุ
- ความดัน โลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ(primary hypertension)ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด มีความเชื่อว่ามีความเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเช่น การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย กรรมพันธุ์ เป็นต้น
- ความดัน โลหิตสูงที่มีสาเหตุ(Secondary hypertension) เช่นโรคเกี่ยวกับไต และต่อมหมวกไต เป็นต้น
การรักษา
- การควบคุมความดันโลหิตโดยไม่ใช้ยา
-
-
-
-
-
-
ยากลุ่ม beta blockers ยากลุ่มนี้จะออกฤทธิ์โดยการไปแย่งจับกับตัวรับที่ชื่อเบต้า ทำให้สารสื่อประสาทไม่สามารถเข้าจับกับตัวรับ และทำงานได้ ซึ่งเป็นการลดการกระตุ้นหัวใจ ทำให้หัวใจเต้นช้าลง และความดันโลหิตลดลง
-
-
ภาวะแทรกซ้อน
-
-
สมอง อาจเป็นโรคหลอดเลือดสมอง อาการที่แสดงออก คือ มีอาการปากเบี้ยว อ่อนแรงครึ่งซีก ชาครึ่งซีก หรืออาจมีภาวะสมองเสื่อม
-
ภาวะไขมันในเลือดสูง เป็นมา 2 ปี รับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ยา Lipostat 40 MG รับประทานครั้งละ 1/2 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเย็น
สาเหตุ
กรรมพันธุ์ เกิดเป็นผลจากโรคอื่นซึ่งเป็นสาเหตุทำให้การ เผาผลาญสารไขมันผิดปกติ เช่น โรคเบาหวาน โรคต่อมไทรอยด์ไม่ทำงาน โรคตับ โรคไตโรคพิษสุรา เรื้อรัง หรือเป็นจากการใช้ยาบางอย่าง เช่น ยาขับปัสสาวะ ยาลดความดัน โลหิต ยาคุมกำเนิดยากลุ่มสเตอรอยด์
อาการ
-
ผนังหลอดเลือดแข็ง หัวใจต้องทำงานหนักมากขึ้น เพื่อสูบฉีดเลือดใหเลี้ยงทั่วรางกายเพียงพอ เมื่อเป็นระยะเวลานาน จะทำให้เกิดความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือดหรือเป็นอัมพาตได้ มีสีปนเหลืองที่ผิวหนัง เช่น หนังตา ข้อศอก หัวเข่าและฝ่ามือ
-
วินิจฉัยโรค
การวินิจฉัยว่าไขมันในเลือดสูงโดยทั่วไปใช้เกณฑ์ แอลดีแอล (LDL) เป็นหลัก เนื่องจากโคเลสเตอรอลประกอบด้วยไขมันที่ดี ( เอชดีแอล) และไขมันที่ไม่ดี (ไตรกลีเซอร์ไรด์และแอลดีแอล) ดังนั้นถ้าดูระดับ โคเลสเตอรอลเพียงอย่างเดียวอาจผิดพลาดได้
การรักษา
1.การรักษาแบบไม่ใช้ยา
3.ลดอาหารประเภทแป้งขัดสี เช่น ขนมปังชนิดต่างๆ รวมถึงปาท่องโก๋ โดนัท เส้นก๋วยเตี๋ยว เส้นสปาเกตตี มักกะโรนี บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ลดอาหารมีคอเลสเทอรอลสูงเช่น ไข่แดง เครื่องในสัตว์ต่างๆ เนื้อสัตว์ติดมัน กุ้ง หอย ปลาหมึก ไข่ปลา
-
-
-
-
2.การรักษาแบบใช้ยา
2.ยาที่เป็นวิตามินบีรวม ชื่อ Niacin ซึ่งจะช่วยลดระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ไขมัน LDL และช่วยเพิ่มระดับไขมัน HDL
3.ยากลุ่ม Fibrates เป็นยากลุ่มที่ประสิทธิภาพสูง ในการลดระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ มีผลข้างเคียงได้แก่ Rhabdmyolysis ภาวะกล้ามเนื้อลายสลาย
1.ยากลุ่ม HMG -CoA reductase inhibitor ทำให้ลดระดับคอเลสเตอรอลไตรกลีเซอไรด์และกลุ่มไขมัน LDL ลง คือ Simvastatin
-
โรคหลอดเลือดสมอง เป็นมา 2 ปี รับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ยา Asprex 81 MG รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า , Baclofen 10 MG รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า เย็น ก่อนนอน
อาการ
-
เสียการรับรู้ความรู้สึก การเคลื่อนไหวร่างกายและการทรงตัว เช่น รู้สึกชาตามตัว แขนขาอ่อนแรงหรือขยับไม่ได้ และเดินเซ เป็นต้น
-
วินิจฉัยโรค
การตรวจหลอดเลือดใหญ่ที่คอด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Carotid Ultrasound) เพื่อตรวจดูการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง และตรวจดูคราบไขมันที่เกาะอยู่ภายในหลอดเลือด
การทำเอคโคหัวใจ (Echocardiography) ด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ทำให้ภาพฉายการทำงานของหัวใจ จึงช่วยในการหาตำแหน่งที่เกิดการอุดตันของหลอดเลือดบริเวณหัวใจ ซึ่งอาจเป็นต้นเหตุของโรคหลอดเลือดสมอง
-
-
การตรวจเลือด แพทย์อาจใช้วิธีการตรวจเลือดเพื่อดูความเร็วในการแข็งตัวของเลือด ระดับคอเลสเตอรอล ระดับน้ำตาลในเลือดในกรณีที่มีปริมาณสูงหรือต่ำกว่าปกติ หรือตรวจหาการติดเชื้อ
การฉีดสารทึบสีเพื่อตรวจดูหลอดเลือดสมอง (Cerebral Angiography) โดยแพทย์จะฉีดสีในสายสวนหลอดเลือดแดงที่ใส่ไว้บริเวณขาหนีบของผู้ป่วย เพื่อตรวจวินิจฉัยการอุดตันของหลอดเลือดบริเวณสมองและคอโดยตรง
สาเหตุ
-
-
เกิดลิ่มเลือดขนาดเล็กแข็งตัวและเกาะที่ผนังหัวใจและลิ้นหัวใจ จากนั้นหลุดลอยตามกระแสเลือดไปอุดตันหลอดเลือดในสมอง
การรักษา
การใช้ยา
-
ยาแอสไพริน ยาต้านเกล็ดเลือด หรือยาต้านลิ่มเลือด เพื่อป้องกันการจับตัวกันของเลือดและป้องกันการเกิด Ischemic Stroke ซ้ำอีกในอนาคต หากผู้ป่วยมีความดันโลหิต ระดับน้ำตาล หรือไขมันในเลือดสูง
การผ่าตัด
การผ่าตัดเปิดหลอดเลือดแดงที่คอ (Carotid Endarterectomy) เป็นการผ่าตัดเอาตะกรันที่อุดตันเกาะพอกด้านในของหลอดเลือดออก
การขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูนและขดลวด (Angioplasty and Stents) โดยนำขดลวดไปถ่างขยายเพื่อไม่ให้หลอดเลือดตีบตัน ทำให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงสมองดีขึ้น
ภาวะแทรกซ้อน
-
ปัญหาในการพูดและการกลืนอาหาร มีปัญหาในการอ่าน การเขียนและการทำความเข้าใจ เนื่องจาก Ischemic Stroke จะกระทบต่อการทำงานของกล้ามเนื้อในปากและลำคอ
-
-
-
-