Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 การวิเคราะห์และการนำเสนอข้อมูล การวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเ…
หน่วยที่ 7 การวิเคราะห์และการนำเสนอข้อมูล
การวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
7.1 การเตรียมและการใช้โปรแกรมสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเพื่อการวิเคราะห์ด้วย
โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
7.1.1 การเตรียมข้อมูลการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน
การตรวจสอบข้อมูล
เพื่อดูความเรียบร้อยของข้อมูล
1.1 การบรรณาธิกรณ์
เป็นการตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้
ให้มีความถูกต้องหรือใกล้เคียงกับสิ่งที่ควรจะเป็นมากขึ้น
1.2 การแยกประเภทข้อมูล
เป็นการจำแนกข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ออกเป็นกลุ่มตามลักษณะตัว
แปรที่ผู้วิจัยกำหนด โดยแต่ละกลุ่มต้องสามารถแยกออกจากกันได้โดยเด็ดขาด
การจัดทำรหัสข้อมูล
เพื่อความสะดวกในการบันทึกข้อมูลและการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์วิเคราะห์ผลทางสถิติ
7.1.2 การจัดทำไฟล์ข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
การบันทึกข้อมูลในโปรแกรม SPSS for winder
หน้าจอสำคัญ
หน้าจอ Variable View
ใช้กำหนดรายละเอียดของตัวแปรแต่ละตัว
หน้าจอ Data View
ใช้บันทึกข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม
7.1.3 การใช้คำสั่งทั่วไปของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
สำเร็จรูป
โปรแกรม SPSS for winder
Transform เป็นเมนูที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงตัวแปรของแฟ้มข้อมูล คำนวณค่าตัวแปรใหม่ โดยใช้ฟังก์ชันของตัวแปรเดิม
Analyze เป็นเมนูที่ประกอบด้วยวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เช่น การสร้างรายงาน
Data เป็นเมนูคำสั่งที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงแฟ้มข้อมูล เช่น การรวมแฟ้ม
Graphs เป็นเมนูที่ใช้ในการสร้างกราฟต่าง ๆ
View เป็นเมนูที่ใช้ในการจัดการ toolbar, status bar, font และ label
Utilities เป็นเมนูคำสั่งที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับตัวแปรในแฟ้มข้อมูลที่ใช้งานอยู
Edit เป็นเมนูที่ใช้แก้ไข คัดลอก ตัด ค้นหาข้อมูล เป็นต้น
Window เป็นเมนูที่ใช้ในการจัด เลือก และควบคุมหน้าต่างของโปรแกรม SPSS
File เป็นเมนูคำสั่งที่ใช้เปิด สร้าง และบันทึกแฟ้มข้อมูล
Help เป็นเมนูที่ใช้ในการเชื่อมกับ SPSS Internet home page และอธิบายความหมายของคำสั่งต่าง ๆ ในโปรแกรม SPSS for windows
7.2 หลักการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย
ทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
7.2.1 ประเภทของข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
1.1 ข้อมูลที่เป็นนามมาตร (nominal scale)
เป็นการแบ่งกลุ่มข้อมูลออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ
ไม่สามารถบอกได้ว่ากลุ่มใดดีกว่าหรือมากกว่ากลุ่มใด
1.2 ข้อมูลที่เป็นอันดับมาตร (ordinal scale)
เป็นข้อมูลแบ่งกลุ่มแบบเดียวกับนามมาตร
แต่สามารถแสดงความแตกต่างระหว่างกลุ่มได
ข้อมูลเชิงปริมาณ
2.1 ข้อมูลที่เป็นช่วงมาตร (interval scale)
เป็นข้อมูลที่สามารถบอกความแตกต่างออกมา
เป็นตัวเลขได้ แต่ตัวเลขที่ได้นั้นไม่ใช่เป็นตัวเลขที่แท้จริง เป็นตัวเลขที่กำหนดขึ้นโดยผู้วิจัย
2.2 ข้อมูลที่เป็นอัตรส่วนมาตร (ratio scale) เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลขที่แท้จริง สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของข้อมูลได้อย่างสมบูรณ์ ค่าของศูนย์เป็นค่าที่แท้จริง
7.2.2 หลักการพิจารณาในการเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การใช้สถิติพรรณนา
1.1 สถิติพรรณนาสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ
โดยข้อมูลเป็นแบบนามมาตรหรืออันดับมาตร สถิติที่ใช้เพิ่อหาคุณลักษณะของข้อมูล คือ ความถี่หรือจำนวน (frequency)
ร้อยละ (percentage) และค่าฐานนิยม (mode) โดยฐานนิยมก็คือ ค่าที่มีความถี่หรือจำนวนมากที่สุดนั่นเอง
1.2 สถิติพรรณนาสำหรับข้อมูลเชิงปริมาณ
เป็นข้อมูลแบบช่วงมาตรหรืออัตราส่วนมาตร นอกจากใช้เพื่อหาคุณลักษณะของข้อมูล คือ ความถี่และร้อยละแล้ว ยังใช้ในการวิเคราะห์หาค่ากลางและค่าการกระจายของข้อมูลอีกด้วย
การใช้สถิติอนุมาน
2.2 การทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว
ตัวแปรอิสระเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพและตัวแปรตามเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ
ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ
ตัวแปรทั้ง 2 ตัวเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ
ตัวแปรทั้ง 2 ตัวเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ
2.3 การทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรหลายตัว
ตัวแปรตามเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ 1 ตัว ตัวแปรอิสระเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพอย่างน้อย 2 ตัว
ตัวแปรตามเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ 1 ตัว ตัวแปรอิสระเป็นข้อมูลเชิงปริมาณอย่างน้อย 2 ตัว
ตัวแปรตามเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ 1 ตัว ตัวแปรอิสระเป็นข้อมูลเชิงปริมาณทั้งหมด
ตัวแปรตามเป็นข้อมูลเชิงปริมาณหลายตัว ตัวแปรอิสระเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพอย่างน้อย 1 ตัว
2.1 การทดสอบเกี่ยวกับตัวแปร 1 ตัว
การทดสอบค่าเฉลี่ยของตัวแปรที่เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ
การทดสอบค่าสัดส่วนของตัวแปรที่เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ
2.4 การทดสอบที่ไม่ใช้พารามิเตอร์หรือสถิตินอนพาราเมตริก
(non-parametric statistics)
2.5 การเปรียบเทียบประเภทของสถิติแบบพาราเมตริกและนอนพาราเมตริก
7.2.3 การทดสอบสมมติฐานทางสถิติของการวิจัยทาง
ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หลักการตั้งและการทดสอบสมมติฐานทางสถิติในการวิจัย
สมมติฐานเพื่อการทดสอบ
สมมติฐานหลัก (null hypothesis)
เป็นสมมติฐานที่ตั้งขึ้นเพื่อทดสอบว่าจะยอมรับหรือ
ปฏิเสธ และเป็นสมมติฐานที่ตรงกันข้ามกับสมมติฐานทางเลือก
สมมติฐานทางเลือก (alternative hypothesis)
เป็นสมมติฐานที่แสดงความแตกต่างซึ่ง
เป็นความเชื่อของผู้วิจัยเพื่อการทดสอบว่าเป็นความจริงหรือไม่
การทดสอบสมมติฐาน
การทดสอบสมมติฐานทางเดียว (one-tailed test)
เป็นการทดสอบสมมติฐานที่มี
บริเวณที่จะปฏิเสธสมมติฐานเพียงข้างเดียว
การทดสอบสมมติฐานสองทาง (two-tailed test)
เป็นการทดสอบสมมติฐานที่มี
บริเวณที่จะปฏิเสธสมมติฐาน 2 ทาง
ความคลาดเคลื่อนในการทดสอบสมมติฐาน
ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 (Type I error)
เป็นความคลาดเคลื่อนจากการที่ปฏิเสธสมมติฐานหลัก โดยที่สมมติฐานหลักเป็นจริง
ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 2 (Type II error)
เป็นความคลาดเคลื่อนจากการที่ยอมรับ
สมมติฐานหลัก โดยสมมติฐานหลักนั้นไม่จริง
ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ
กำหนดตัวสถิติที่จะใช้ทดสอบ
การหาขอบเขตในการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน
กำหนดระดับนัยสำคัญ
การสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน
กำหนดสมมติฐานที่จะทดสอบ
7.3 การนำเสนอข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
7.3.1 การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบตาราง
การนำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์สถิติพรรณนา
การนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้ค่าความถี่และค่าร้อยละเท่านั้น
สำหรับค่าฐานนิยมสามารถดูได้จากค่าความถี่/ค่าร้อยละที่สูงที่สุด
การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล นอกจากจะใช้ค่าความถี่และค่าร้อยละแล้ว ยังจะต้องน าเสนอค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ าสุด และค่าสูงสุดอีกด้วย
การนำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์สถิติอนุมาน
การนำเสนอข้อมูลการเปรียบเทียบข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลจากการใช้สถิติt-test ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตัวอย่างจากประชากร 2 กลุ่ม
การนำเสนอข้อมูลจากการใช้สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวน (analysis ofvariance–ANOVA) ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตัวอย่างจากประชากร 2 กลุ่มขึ้นไป
การนำเสนอข้อมูลการหาความสัมพันธ์ของข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลจากการใช้สถิติการทดสอบไคสแควร์ (chi-square test)
การนำเสนอข้อมูลจากการใช้สถิติการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ (correlation analysis)
การนำเสนอข้อมูลจากการใช้สถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุ(regression analysis)
7.3.2 การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนภูมิและกราฟ
การนำเสนอในรูปแบบแผนภูมิแท่ง
นี้เหมาะสำหรับการนำเสนอข้อมูลที่เป็นเชิงคุณภาพ หรือถ้าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ ก็ต้องนำข้อมูลนั้นมาจัดกลุ่มเพื่อให้มีลักษณะเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้กับข้อมูลที่มาจากตัวอย่างของประชากรกลุ่มเดียว หรือใช้ในการเปรียบเทียบก็ได้
การนำเสนอในรูปแบบแผนภูมิวงกลม
เหมาะสำหรับข้อมูลที่เป็นเชิงคุณภาพคล้ายกับแผนภูมิแท่ง โดยต้องการแสดงค่าร้อยละของแต่ละกลุ่มของตัวอย่าง
การนำเสนอในรูปแบบกราฟเส้น
เหมาะสำหรับการนำเสนอข้อมูลที่เป็นเชิงปริมาณ
ที่ต้องการแสดงการเปลี่ยนแปลงตามเวลาที่ข้อมูลนั้นเกิดขึ้น โดยสามารถนำมาใช้ประโชน์ในการพยากรณ์ข้อมูลในอนาคตได้ด้วย