Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปํญหานักเรียนขาดทักษะกระบวนทางคณิตศาสตร์ (การแก้ปัญหา) - Coggle Diagram
ปํญหานักเรียนขาดทักษะกระบวนทางคณิตศาสตร์
(การแก้ปัญหา)
ชื่อเรื่อง
การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาจากโจทย์ปัญหาโดยการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ความเป็นมา
นักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความรู้ที่ได้รับจากการเจัดการเรียนรู้ไปสู่การแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้
ครูใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย จึงทำให้นักเรียนไม่ได้ปฏิบัติจริง ขาดการเรียนรู้ร่วมกันในการคิดและแก้ปัญหา
ความสำคัญ
การแก้ปัญหาเป็นทักษะที่เป็นองค์ประกอบสำคัญในการจัดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ครูต้องยึดหลักสอนน้อย เรียนมาก
เน้นกระบวนการคิดและการปฏิบัติจริง ซึ่งสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก หรือ Active Learning
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก เป็นการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
3.1 เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
ขอบเขตการวิจัย
4.1 กลุ่มเป้าหมาย
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน... จำนวน...ห้องเรียน จำนวน...คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling)
4.2 ขอบเขตเนื้อหา
เนื้อหาสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง รูปสามเหลี่ยม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง 2560)
นิยามศัพท์เฉพาะ
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์
ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
โจทย์ปัญหาและการแก้ปัญหา
วิธีการดำเนินงานวิจัย
7.1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
แผนการจัดกาเรียนรู้
แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา
7.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ใช้แบบแผนการวิจัย แบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียว (One-group
pretest-posttest design)
7.3 การวิเคราะห์ข้อมูล และสถิติที่ใช้
เปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของ
นักเรียน ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้สถิติ t-test for dependent samples
หาจำนวนนักเรียนที่มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์อยู่ในระดับดีขึ้นไป โดยใช้ค่าร้อยละของจำนวนนักเรียนทั้งหมด
เอกสารอ้างอิง
นภาพร สว่างอารมณ์. (2563). การพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 {วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครนิทรวิโรฒ}.
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/bitstream/123456789/775/1/gs611130006.pdf
: